รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02463


ชื่อวิทยาศาสตร์

Ficus retusa L. Var. compacta

สกุล

Ficus Tourn. ex L.

สปีชีส์

retusa

Variety

compacta

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

Ficus retusa L.

ชื่อไทย
ไทรอินโดใบกลม
ชื่อท้องถิ่น
ไทรขี้นก (นราธิวาส)/ ไทรเขา (นครศรีธรรมราช)/ ไทรย้อย(กทม. สุราษฎร์ธานี)/ ไทรย้อยใบแหลม (กทม. ตราด)/ ไทรระโยง (นครราชสีมา)/ ไทรหิน (ชุมพร นครศรีธรรมราช)/ ไฮฮี (เพชรบูรณ์)
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
MORACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น มีลักษณะเป็นไม้พุ่ม

ใบ ใบสีเขียวเข้มใบค่อนข้างกลมไม่ใหญ่มาก ผิวใบมันเรียบใบและกิ่งก้านเรียงตัวซ้อนกันหนาแน่น

ดอก 

ผล

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แสงแดดส่องถึง และอุดมสมบูรณ์

ถิ่นกำเนิด

พื้นเมืองของหมู่เกาะมลายูและแคว้นฟลอริด้า

การกระจายพันธุ์

ตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก เปรู เซเนกัล

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยเมล็ด

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ,พืชวัสดุ

-ไทรอินโดได้รับความนิยมในการนำมาประยุกต์ตัดเเต่งพุ่มให้เป็นรูปทรงต่างๆ หรือนำมาทำเป็นแนวกั้นรั้วกำเพงบ้านใช้กันมากตามรีสอร์ตหรือตามบ้านที่มีขนาดกำเเพงค่อนข้างยาวนอกจากนี้ยังเห็นได้บ่อยตามโครงการหมู่บ้านต่างๆ คุณสมบัติของไม้ชนิดนี้คือเป็นไม้ทำรั้วที่มีความทนทาน ทนต่อสภาพแห้งเเล้ง  ตลอดจนสภาพน้ำท่วมขังระยะสั้น

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

สำนักพิมพ์บ้านและสวน. 2557. “ไทรอินโดใบกลม” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.baanlaesuan.com/32846/the-editors/banyan/ (13 พฤษภาคม 2560)

The Plant List. 2013. “Ficus retusa L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2812043 (13 พฤษภาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Ficus retusa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:853577-1 (13 พฤษภาคม 2560)

WIKIPEDIA. 2017. “Ficus retusa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ficus_retusa (13 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้