รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02544


ชื่อวิทยาศาสตร์

Globba sp.

สกุล

Globba L.

สปีชีส์

-

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
หงส์เหินชมพู
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
ZINGIBERACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้หัว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น มีลำต้นใต้ดิน ลำต้นเทียบอยู่เหนือดิน

ใบ ใบเดี่ยว ขอบใบเรียบ ก้านใบรวมตัวกันเป็นลำต้นเทียม

ดอก ช่อดอกแบบช่อแน่น ใบประดับสีชมพูถึงชมพูม่วง ดอกจริงสีเหลือง 2-7 ดอก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็หลอดโค้งงอ ปลายแยกเป็นแฉก 

ผล เป็นฝัก มี 3 พู 

เมล็ด 25-150 เมล็ด รูปคล้ายหยดน้ำ 0.5 ซม. เมล็ดแก่สีน้ำตาลเข้ม

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่อถดมสมบูรณ์แสงแดดส่องถึง หรือที่ร่มรำไร

ถิ่นกำเนิด

พืชในจีนัสนี้เป็นพืชพื้นเมืองในประเทศจีน อนุทวีปอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี เกาะบิสมาร์ก และรัฐควีนส์แลนด์

การกระจายพันธุ์

พืชในจีนัสนี้มีการกระจายพันธุ์ในหมู่เกาะลีเวิร์ด 

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด แยกกอ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

-นิยมปลูกเป็นพืชประดับ หรือพืชให้ร่มเงายังสถานที่ต่าง ๆ

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร. 2017. “หงษ์เหิน(MJ13).” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://portal.rae.mju.ac.th/dbplant/index.php/horticulture/flower/curcuma/item/mj-13 (20 พฤษภาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Globba L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:37273-1 (20 พฤษภาคม 2560)

WIKIPEDIA. 2015. “Globba.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Globba (20 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้