รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02563


ชื่อวิทยาศาสตร์

Gomphrena globosa L. 'Gnome Pink'

สกุล

Gomphrena L.

สปีชีส์

 globosa 

Variety

Gnome Pink

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

Gomphrena globosa L.

ชื่อไทย
บานไม่รู้โรย Gnome Pink
ชื่อท้องถิ่น
กะล่อม ตะล่อม (เหนือ)/ ดอกสามเดือน (เชียงใหม่ ใต้)
ชื่อสามัญ
Globe Amaranth/ Bechelor''s Button
ชื่อวงศ์
AMARANTHACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น ไม้ล้มลุก มีพุ่มต้น สูงประมาณ 46 ซม.

ใบ ใบเดี่ยวรูปรีปลายแหลม ขอบเรียบ มีขนนุ่มทั้งใบ

ดอก  ดอกเป็นแบบหัว มีลักษณะคล้ายลูกโลก ดอกมีสีชมพูอมม่วง ใช้ดอกประดับทั้งสดและแห้ง 

ผล 

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินที่อุดมสมบูรณ์ และแสงแดดสามารถส่องถึง

ถิ่นกำเนิด

มีถิ่นกำเนิดในเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป และอเมริกา 

การกระจายพันธุ์

อินเดีย จาเมกา ญี่ปุ่น เคนยา เกาหลี ฯลฯ

การปลูกและการขยายพันธุ์

 ขยายพันธุ์โดยเมล็ด ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมที่สุด เหมือนไม้ดอกหลาย ๆ 

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

-ใช้ดอกประดับทั้งสดและแห้ง ในต่างประเทศนิยมใช้เป็นดอกไม้แห้ง เก็บไว้ใช้ในฤดูหนาว

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. “บานไม่รู้โรย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10-46/Gomphrena%20.htm (21 พฤษภาคม 2560)

วิกิพีเดีย. 2559. “บานไม่รู้โรย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A2 (21 พฤษภาคม 2560)

The Plant List. 2013. “Gomphrena globosa L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2829209 (21 พฤษภาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Gomphrena globosa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:327333-2 (21 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้