รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03263


ชื่อวิทยาศาสตร์

Ixora sp. 'Hybrid'

สกุล

Ixora L.

สปีชีส์

-

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
เข็มชมพูพิษณุโลก
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
RUBIACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น แตกกิ่งก้านจำนวนมาก 

ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบรูปหอกกลับ กว้าง 1-2 ซม. ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบบิดเล็กน้อย แผ่นใบสีเขียวอมเหลือง

ดอก ออกเป็นช่อ ที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงสีเขียว 5 กลีบ ดอกสีขาวหรือสีชมพู โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 แฉก

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

ไม่ค่อยทนทานต่อสภาพดินเค็ม  ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งขนาดเล็กได้ดี มีความอดทนต่อสภาพแวดล้อม ต้องการน้ำในระดับปานกลาง - น้อย

ถิ่นกำเนิด

แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย ตอนใต้ของเกาะแปซิฟิก

การกระจายพันธุ์

ศูนย์รวมความหลากหลายของมันก็อยู่ในเขตร้อนของเอเชีย เติบโตขึ้นโดยทั่วไปในภูมิอากาศเขตร้อนในสหรัฐอเมริกา เช่นฟลอริดา

การปลูกและการขยายพันธุ์

ปักชำ เพาะเมล็ด

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

นิยมปลูกลงแปลงจัดสวน

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. “เข็มชมพูแคระ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://clgc.agri.kps.ku.ac.th/index.php/linkornament/352-ixorah (11 มิถุนายน 2560)

wikipedia. “Ixora.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ixora (11 มิถุนายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้