Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Coffea</em> <em>canephora</em> Pierre ex A.Froehner</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Coffea</em> <em>arabica</em> var. <em>stuhlmannii</em> A.Froehner</p><p><em>Coffea</em> <em>bukobensis</em> A.Zimm.</p><p><em>Coffea</em> <em>canephora</em> var. <em>crassifolia</em> Lautent ex De Wild.</p><p><em>Coffea</em> <em>canephora</em> var. <em>gossweileri</em> A.Chev.</p><p><em>Coffea</em> <em>canephora</em> var. <em>laurentii</em> (De Wild.) A.Chev.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดเจริญสูงขึ้นไปและชนิดเป็นพุ่ม ลักษณะการแตกกิ่ง เหมือนกาแฟอราบิก้า แต่กิ่งข้างหรือกิ่งนอนข้อที่ออกผลแล้วจะไม่ออกอีกผลจะเกิดตามส่วนที่เจริญขึ้นมาใหม่ และ เมื่อออกผลจนสุดปลายกิ่งแล้ว กิ่งจะแห้งตายและร่วงหล่น ทำให้ต้นมี ลักษณะทรงต้นแบบร่ม</p><p><strong>ใบ </strong>มีขนาดใหญ่กว่ากาแฟอราบิก้า คือ กว้างประมาณ 5-15 ซม. ยาว 15-30 ซม. มีสีเขียวเป็นมัน ใบมักเป็นลอน เส้นกลางใบจะแบน</p><p><strong>ดอก </strong>เช่นเดียวกับกาแฟอราบิก้าา มีกลิ่นหอมมาก แต่มีการผสม เกสรแบบผสมข้าม ถ้าผสมตัวเองมักเป็นหมัน</p><p><strong>ผล </strong>ผลอ่อนมีสีเขียว แก่สุกแล้วมีสีแดงเข้ม มีขนาดยาวประมาณ 0.8-1.5 ซม. ภายหลังจะแห้งและกลายเป็นสีดำติดอยู่กับข้อจนกว่าจะเก็บเกี่ยว ไม่ร่วงหล่นก่อน ดังนั้น ทำให้สามารถเก็บเกี่ยวได้พร้อมกัน ใช้เวลาจากออกดอกจนถึงเก็บเกี่ยวได้ประมาณ 9-10 เดือน มีเปลือกและเนื้อบาง จำนวนผลที่มีข้อมีมากกว่ากาแฟอราบิก้า อาจมี 20-70 ผลใน 1 ข้อ</p><p><strong>เมล็ด </strong>มีขนาดยาว 7-9 มม. แต่โดยเฉลี่ยประมาณ 8.5 มม. โดยเหตุที่เปลือกบางและมีเนื้อน้อย อัตราส่วนผลกาแฟต่อสารกาแฟ </p><p><strong>ราก </strong>มีรากแก้วลสั้น ระบบรากตื้นและมีรากฝอยหาอาหารเป็นจานวนมาก </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พื้นที่สูง 0-1500 ม. เหนือจากระดับทะเลปานกลาง สำหรับประเทศไทยมีปลูกทั่วประเทศไทย แต่มีมากทางภาคใต้</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>แอฟริกา</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เกาะชวา ทะเลสาบวิคตอเรีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ปักชำ เสียบยอด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>มีสรรพคุณทางยาสมุนไพร และนำเมล็ดมาคั่วทำเป็นเครื่องดื่ม เช่น เมล็ด </strong>ช่วยกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง การทำงานของหัวใจ และช่วยขับปัสสาวะ และนำมาคั่วและบดให้ละเอียดนำมาชงกับน้ำรับประทานได้ อีกทั้งสามารถ<strong>ปลูกเป็นพืชประดับ</strong></p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ไทยเกษตรศาสตร์. 2556. “กาแฟโรบัสต้า” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9F%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2robusta-coffee/ (19 กรกฎาคม 2560)</p><p> Arda.or.th. 2015. “กาแฟโรบัสต้า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.arda.or.th/kasetinfo/south/coffee/controller/index.php (19 กรกฎาคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Coffea canephora Pierre ex A.Froehner.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-45464 (19 กรกฎาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Coffea canephora.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:747068-1 (19 กรกฎาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้