รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-06785


ชื่อวิทยาศาสตร์

Durio zibethinus L.

สกุล
Durio
สปีชีส์
Durio zibethinus
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
ชื่อไทย
ทุเรียนพันธุ์กบหลังวิหาร
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
MALVACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น สูงประมาณ 25-50 ม. 

ใบ มีลักษณะรูปทรงใบเป็นแบบรูปไข่ขอบขนาน (oval-oblong) ลักษณะปลายใบเป็นแบบแหลมโค้ง (acuminate-curve) ลักษณะฐานใบเป็นแบบกลมมน (rounded-obtuse)

ดอก รูปทรงของดอกค่อนข้างยาวหัวท้ายมน ก้านดอกและก้านดอกจะเรียว ผลค่อนกลมยาว มักจะมีพูหลอก หนามมีขนาดกลาง ฐานหนามค่อนข้างใหญ่ ปลายหนามแหลม

ผล ลักษณะทรงผลของกลุ่มกบนี้จะกระจายอยู่ใน 3 ลักษณะคือกลม (rounded) กลมรี (oval) กลมแป้น (oblate) รูปร่างของหนามผลมีลักษณะโค้งงอ (hooked)

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา
ถิ่นกำเนิด
การกระจายพันธุ์
การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด หรือการตอนกิ่ง

ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

-ผล สามารถรับประทานได้ทั้งสุก และดิบ ผลดิบนำไปแปรรูปโดยการทอด หรือฉาบคล้ายกล้วยฉาบ เผือกฉาบ ส่วนผลสุก รับประทานสด หรือนำไปแปรรูปโดนการกวน เป็นทุเรียนกวน

หมายเหตุ
แหล่งอ้างอิง

สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. “ทุเรียนพันธุ์กบหลังวิหาร” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=28&chap=4&page=t28-4-infodetail02.html (27 เมษายน 2560)

The Plant List. 2013. “Durio zibethinus L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org (27 เมษายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้