Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Desmos</em> sp.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้พุ่มรอเลื้อย ยาว 1-5 ม. เถาเรียบสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลหนาแน่นกิ่งแก่จะเกลี้ยง</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-15 ซม. โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบและเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน เนื้อใบบางเหนียว ใบอ่อนสีแดง ก้านใบยาวประมาณ 5 มม.</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกเดี่ยวออกด้านล่างตรงข้ามกับใบ ดอกสีเหลืองส้มถึงสีส้มอ่อน กลีบเลี้ยงสีเขียวมี 3 กลีบ ปลายกระดกขึ้น กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชั้น ชั้นนอก 3 กลีบ ชั้นในมี 3 กลีบ แต่กลีบเล็กและสั้นกว่ากลีบชั้นนอก กลีบยาวบิดเล็กน้อย มีกลิ่นหอม</p><p><strong>ผล </strong>เป็นผลกลุ่ม ผลย่อยแต่ละผลคอดเป็นข้อถึง 7 ข้อ ผิวเรียบเป็นมัน กว้าง 5 ซม. ยาวประมาณ 2-4 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีดำ เป็นมัน ห้อยลง</p><p><strong>เมล็ด </strong>เมล็ดกลม 2-5 เมล็ดต่อผล รูปทรงกลมหรือรูปรี กว้าง 0.4-0.5 ซม. ยาว 0.6-0.8 ซม. ผิวเกลี้ยง สีน้ำตาล</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบตามป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ พบได้ตั้งแต่ระดับทะเลปานกลางจนถึงที่ระดับความสูง 600 ม.</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เอเชีย และทางตอนเหนือของออสเตรเลีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออก - จีนตอนใต้ อินเดีย ภูฏาน เนปาล พม่า ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา ลาว เวียดนาม ฟิลิปปินส์</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ตกแต่งสถานที่ และสวน</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “สายหยุด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=291 (4 เมษายน 2560)</p><p>Flora of China. “Desmos chinensis.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200008520 (17 กันยายน 2560)</p><p>NParks Flora&Fauna Web. 2013. “<em>Desmos</em> <em>chinensis</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://florafaunaweb.nparks.gov.sg/special-pages/plant-detail.aspx?id=1927 (17 กันยายน 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2017. “Desmos chinensis.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Desmos+chinensis (17 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้