Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Dillenia indica </em>L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Dillenia elongata</em> Miq.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 ม. ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน</p><p><strong>ใบ</strong> รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย เส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกเดี่ยวตามซอกใบ ดอกสีขาวบานเต็มที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 ซม. กลีบเลี้ยงมีสีเขียวสองชั้น ชั้นในมี 2 กลีบ ชั้นนอกมี 3 กลีบ กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก อยู่รอบเกสรตัวเมีย ปลายยอดเกสรตัวเมียเป็นแฉก</p><p><strong>ผล </strong>รูปทรงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม. ผิวเรียบ ผลสีแดงเขียวอมเหลือง เนื้อผลมีรสเปรี้ยว รับประทานได้</p><p><strong>เมล็ด </strong>มีเมล็ดเดี่ยว</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้</p>
ถิ่นกำเนิด
<p> </p><p>อัสสัม บังกลาเทศ บอร์เนียว กัมพูชา จีนตอนใต้-ตอนกลาง จีนตะวันออกเฉียงใต้ เทือกเขาหิมาลัยตะวันออก อินเดีย ชวา ลาว มาลายา พม่า เนปาล ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา สุมาตรา ไทย และเวียดนาม</p>
การกระจายพันธุ์
<p>หมู่เกาะอันดามัน คิวบา อ่าวกินี มอริเชียส เรอูนียง ตรินิแดด-โตเบโก และหมู่เกาะวินด์เวิร์ด</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ผล</strong> ใช้รับประทานเป็นอาหารได้</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>มูลนิธิโครงการหลวง. 2552. องค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย เล่ม 2. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร.752 น.</p><p>Flora of China. “Dillenia indica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200013874 (19 กันยายน 2560)</p><p>NParks Flora&Fauna Web. 2013. “<em>Dillenia</em> <em>indica</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://florafaunaweb.nparks.gov.sg/special-pages/plant-detail.aspx?id=2842 (19 กันยายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Dillenia</em> <em>indica</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2768269 (5 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “<em>Dillenia indica</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:316684-1 (25 ตุลาคม 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2017. “Dillenia indica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Dillenia+indica (19 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้