Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Diospyros</em> <em>rhodocalyx</em> Kurz</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Diospyros</em> <em>chevalieri</em> Lecomte</p><p><em>Diospyros finetii </em>Lecomte</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 15 ม.</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปรี กว้าง 2.5-7.0 ซม. ยาว 5-12 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบโค้งมน</p><p><strong>ดอก</strong> สีขาวนวล แยกเพศ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปโอ่งน้ำหรือรูปคนโท มี 4 กลีบ ยาว 8-12 มม. ปลายแยกเป็นแฉกสั้น มีเกสรเพศผู้ 14-16 อัน ดอกเพศเมียเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะคล้ายดอกเพศผู้แต่มีขนาดใหญ่กว่า กลีบดอกมี 4 กลีบ มีเกสรเพศผู้เทียม 8-10 อัน</p><p><strong>ผล</strong> เป็นผลสด สีส้มแดง ทรงกลม ผิวมัน ขนาด 1.5-3.0 ซม. มีขนละเอียด และกลีบเลี้ยงติดอยู่ที่ขั้วผล 4 กลีบ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณแล้ง ป่าละเมาะ และทุ่งนา ที่ระดับความสูง 40-300 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียเขตร้อน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ลำต้น </strong>เนื้อไม้แข็งแรงใช้ทำเครื่องเรือนและเครื่องมือใช้ได้ดี</p><p><strong>ราก</strong> นำไปต้มน้ำดื่มแก้โรคเหน็บชา โรคทางเดินปัสสาวะ น้ำเหลืองเสียแก้ปวดเมื่อย อ่อนเพลีย ช่วยเจริญอาหาร และแก้ร้อนใน</p><p><strong>เปลือก</strong> เป็นยาบำรุงธาตุ บำรุงกำลัง กระตุ้นร่างกายกระปรี้กระเปร่า</p><p><strong>ผล</strong> แก้ท้องร่วง ตกเลือด แก้บวม ขับพยาธิและแก้ฝีเน่าเปื่อย ผลอ่อน ใช้เป็นสีย้อมผ้า แห อวน ผลสุกรับประทานได้ มีรสหวานอมฝาด</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2542. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 4. พิมพ์ครั้งที่ 2. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพมหานคร. 151 น.</p><p>ดิสคัสไทย. 2554. “ตะโกนาเปลือกต้นแก่นขับระดูขาว.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.arocaya.net/bbs/forum.php?mod=viewthread&tid=578 (7 กันยายน 2560)</p><p>สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. “ตะโกนา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.healthyenterprise.org/image/adeq/ebony.pdf (11 ตุลาคม 2559)</p><p>สำนักงานหอพรรณไม้. “ตะโกนา (Diospyros rhodocalyx Kurz).” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.dnp.go.th/botany/mindexdictdetail.aspx?runno=2193 (7 กันยายน 2560)</p><p>อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ. 2553. “ตะโกนา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/index.php?page=search_detail&medicinal_id=286 (11 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Diospyros</em> <em>rhodocalyx</em> Kurz.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2770430 (21 กันยายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “<em>Diospyros rhodocalyx</em> Kurz.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:322938-1 (20 ตุลาคม 2560)</p><p>ThongThailand. 2009. “ตะโกนา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thongthailand.com/articles/307490/ตะโกนา.html (7 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้