Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Dipterocarpus</em> <em>obtusifolius</em> Teijsm. ex Miq.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Dipterocarpus punctulatus </em>Pierre</p><p><em>Dipterocarpus</em> <em>vestitus</em> Wall. ex Dyer</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ 8-20 ม. ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเทา แตกเป็นสะเก็ต</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ กว้าง 10-20 ซม. ยาว 13-25 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ปลายใบมนหรือหยักเว้าตื้น มีขนสีย้ำตาลทั่วใบ </p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อตามซอกใบและใกล้ปลายกิ่ง ขนาดดอกขนาด 3.5-5.5 ซม. ก้านดอกมีขนหนาแน่น กลีบดอก 5 กลีบ สีชมพู กลีบดอกรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก สั้น 3 ยาว 2 โคนเชื่อมติดกัน ปลายกลีบเวียนสลับเป็นรูปกังหัน เกสรเพศผู้ 30 อัน อยู่ในหลอดดอก</p><p><strong>ผล</strong> กลม เกลี้ยง แข็ง สีน้ำตาลเป็นมัน ขนาดผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. ปีกยาว 2 ปีก ขนาดกว้าง 4 ซม. ยาว 13 ซม. มีเส้นตามยาวปีก 1 เส้น เส้นย่อยสานเป็นร่างแห อีก 3 ปีกเล็ก มีขนาดยาว 1.0-1.5 ซม.</p><p><strong>เมล็ด</strong> 1 เมล็ด</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ในประเทศไทยพบขึ้นเป็นกลุ่มตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วประเทศ โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 100-1,000 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>กัมพูชา ลาว มาลายา พม่า ไทย และเวียดนาม</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออกเฉียงใต้</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ใบ</strong> รสฝาด ต้มน้ำผสมน้ำเกลือ อมแก้ปวดฟัน ฟันโยกคลอน<br /><strong>ใบและยาง</strong> รสฝาดร้อน กินเป็นยาตัดลูก (ทำให้ไม่มีบุตร) น้ำมันยาง สมานแผล แก้หนอง ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ รักษาแผลในทางเดินปัสสาวะ แก้ตกขาว<br /><strong>ยาง</strong> รสร้อน สมานแผล แก้หนอง ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ รักษาแผลในทางเดินปัสสาวะ แก้ตกขาว น้ำมัน ใช้ทาแผลภายนอก<br /><strong>เปลือกต้น</strong> ต้มน้ำดื่มแก้ท้องเสีย<br /><strong>ไม้</strong> ใช้ทำที่อยู่อาศัย เครื่องจักสาน และเครื่องใช้สอย<br /><strong>เนื้อไม้</strong> ใช้ทำกระดานและพื้นบ้าน<br /><strong>น้ำมัน</strong> จากลำต้นใช้ยาไม้ ยาแนวเรือ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “เหียง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=935 (25 เมษายน 2560)</p><p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “เหียง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=136 (25 เมษายน 2560)</p><p>สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “เหียง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&view=showone&Itemid=59&id=63 (21 กันยายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2772211 (25 เมษายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “<em>Dipterocarpus obtusifolius</em> Teijsm. ex Miq.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:320727-1 (20 ตุลาคม 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2017. “Dipterocarpus obtusifolius.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Dipterocarpus+obtusifolius (21 กันยายน 2560)</p><p>Wikipedia. 2017. “<em>Dipterocarpus obtusifolius</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Dipterocarpus_obtusifolius (21 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้