Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Dolichandrone</em> <em>serrulata</em> (Wall. ex DC.) Seem.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Bignonia serrulata</em> Wall. ex DC.</p><p><em>Spathodea</em> <em>serrulata</em> (Wall. ex DC.) DC.</p><p><em>Stereospermum</em> <em>serrulatum</em> DC.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เรือนยอดแคบทรงกระบอก กิ่งก้านเรียวเล็ก เปลือกต้น สีน้ำตาลอ่อน เรียบหรือร่อนหลุดเล็กน้อย</p><p><strong>ใบ</strong> ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ช่อใบยาวได้ถึง 43 ซม. ใบย่อยมี 3-5 คู่ ก้านใบยาว 5-13 มม. แผ่นใบมนรีหรือรูปหอกปลายแหลม ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อยประปราย โคนใบไม่สมมาตร ด้านหนึ่งโค้ง อีกด้านหนึ่งสอบลง ใบอ่อนผิวใบเหนียวเหนอะ ใบแก่มีแผงขนระหว่างเส้นใบละต่อมใหญ่ ๆ บนเส้นกลางใบ</p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อกระจุกปลายกิ่ง ยาว 3-5 ซม. มี 3-7 ดอกต่อช่อ ดอกสีขาว ดอกย่อยขนาด ยาว 12-21 ซม. ก้านดอกยาว 1.8-3.8 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนเป็นหลอด กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาวแคบ ปลายบานคล้ายปากแตร พูกลีบบานแผ่ออกหยักเป็นคลื่น เกสรเพศผู้สีเหลืองอยู่ภายในหลอด ดอกบานตอนกลางคืน มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ</p><p><strong>ผล</strong> เป็นฝักแบน ยาว ปลายแหลม บิดเป็นเกลียว ผิวฝักเกลี้ยง ไม่มีขน ขนาดประมาณ กว้าง 1.8 มม. ยาว 85 ซม.</p><p><strong>เมล็ด</strong> รูปสี่เหลี่ยม มีปีกใส ขนาดกว้าง 5-8 มม. ยาว 2.2-2.8 ซม.</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบประปรายในป่าเบญจพรรณ ป่าเปิดบริเวณพื้นล่างถึงป่าดิบเขาสูงถึง 800 ม. เหนือระดับทะเลปานกลาง พบบ่อยตามนาข้าวในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>บังคลาเทศ พม่า ไทย และเวียดนาม</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียเขตร้อน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>เนื้อไม้</strong> ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน เช่น ทำเสา กระดาน พื้น ฝาเพดาน ฯลฯ เปลือกต้น ใช้เป็นยาภายนอกเป็นยาระงับเชื้อ ล้างบาดแผล ห้ามเลือด สมานแผล แก้ฝีเปื่อยพัง ใช้ต้มกับน้ำดื่มแก้บิด ท้องร่วง บวม ตกเลือด แก้พยาธิ แก้ฝีราก แก้ริดสีดวงงอก</p><p><strong>ราก</strong> ตำเป็นยาพอก แก้ฝีเปื่อยพัง แก้บวม ต้มน้ำดื่มแก้ท้องเดิน ถ่ายพยาธิ และแก้ตกเลือด</p><p><strong>ใบ</strong> แก้ปวดศีรษะนอนไม่หลับ ริดสีดวงจมูก ไข้เปลี่ยนฤดู</p><p><strong>ดอก</strong> แก้ฝีเปื่อยพังและใช้เป็นยาบำรุงกำลัง เจริญอาหาร แก้บวม ขับพยาธิ แก้ท้องเดิน และแก้ตกเลือด</p><p><strong>ผล</strong> แก้ฝีเปื่อยพัง บวม ท้องเดิน ตกเลือด และขับพยาธิ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>มูลนิธิโครงการหลวง.2552. องค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย เล่ม 3. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 720 น.</p><p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “แคขาว.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2484 (17 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Dolichandrone</em> <em>serrulata</em> (Wall. ex DC.) Seem.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-320757 (21 กันยายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “<em>Dolichandrone</em> <em>serrulata</em> (Wall. ex DC.) Seem.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:109555-1 (21 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้