รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02028


ชื่อวิทยาศาสตร์

Dombeya burgessiae Gerrard ex Harv.

สกุล

Dombeya Cav.

สปีชีส์

burgessiae

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

Assonia burgessiae (Gerrard ex Harv.) Kuntze

Assonia calantha Stuntz

Assonia sparmannioides Hiern

Dombeya auriculata K.Schum.

ชื่อไทย
พุดตานญี่ปุ่น
ชื่อท้องถิ่น
ซูลู (กทม.)
ชื่อสามัญ
Pink wild pear/ Pink dombeya/ Persdrolpeer/ iBunda
ชื่อวงศ์
MALVACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น สูงถึง 5-6 ม. 

ใบ ใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ ปลายใบแหลม โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเป็นหยัก แยกเป็นแฉก 3 แฉก 

ดอก ออกเป็นช่อ หนาแน่น เป็นกระจุก ดอกสีชมพู 

ผล ผลแบบแห้งแตก มีขนาดเล็ก กลม มีขนยาว

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

อาศัยอยู่ในกึ่งป่าดิบแล้ง หรือหิน ริมแม่น้ำ ที่ระดับความสูง 750-2,400 ม.

ถิ่นกำเนิด

แอฟริกา

การกระจายพันธุ์

แอฟริกาเขตร้อน - เคนย่าตอนใต้ไปยังแองโกลา และแอฟริกาใต้

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

-

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

SA National Biodiversity Institute. “Dombeya burgessiae Gerr. ex Harv.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://pza.sanbi.org/dombeya-burgessiae (21 กันยายน 2560)

The Plant List. 2013. “Dombeya burgessiae Gerrard ex Harv.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2774885 (14 พฤษภาคม 2560)

Useful Tropical Plants Database. 2014. “Dombeya burgessiae.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Dombeya+burgessiae (14 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้