รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02077


ชื่อวิทยาศาสตร์

Durio zibethinus L. 'Chani'

สกุล

Durio Adans.

สปีชีส์

zibethinus

Variety

Chani

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
ทุเรียนพันธุ์ชะนี
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Durian
ชื่อวงศ์
MALVACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น สูง 25-50 ม. 

ใบ รูปไข่ค่อนข้างยาว กว้าง 6.5 ซม. ยาว 16 ซม. ขอบใบเรียว โคนใบแหลม 

ดอก ดอกสีเหลือง จำนวนมากถึง 30 ดอก กลีบดอก 3 กลีบ กว้าง 5-7 ซม. เชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ดอกจะบานตอนกลางคืน 

ผล ทรงหวด กลางผลป่องหัวเรียว ก้นผลป้าน มี 5-6 พู มีหนามแหลม เปลือกบาง เปลือกสีเหลือง

เมล็ด เล็ก ลีบ 1 พู มี 1-3 เมล็ด มีเนื้อหุ้มสีเหลือง รสหวานมัน มีกลิ่นแรง

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

ป่าชื้นที่ราบลุ่ม

ถิ่นกำเนิด

ทุเรียนมีถิ่นกำเนิดมาจาก เกาะบอร์เนียว และเกาะสุมาตรา

การกระจายพันธุ์

ทุเรียนมีการกระจายพันธุ์ใน เกาะอันดามัน เกาะชวา หมู่เกาะซุนดาน้อย มลายา พม่า เกาะนิโคบาร์ ฟิลิปปินส์ และประเทศไทย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการตอนกิ่ง 

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,พืชวัสดุ,พืชใช้เนื้อไม้,พืชให้ร่มเงา

ผลสุก รับประทานได้

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ศูนย์การเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี. 2558. “พันธุ์ชะนี.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.duriannon.com/14549967/พันธุ์ชะนี (11 พฤษภาคม 2560)

รักบ้านเกิด. 2555. “ทุเรียนพันธุ์ชะนี.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=3590&s=tblplant (11 พฤษภาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Durio zibethinus L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:559531-1 (28 กันยายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้