Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Eupatorium stoechadosmum</em> Hance</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Eupatorium</em> <em>fortunei</em> Turcz. </p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ล้มลุก ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน ชูส่วนยอดตั้งขึ้น ลำต้นเป็นร่องสีแดง</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ใบรูปขอบขนานหรือรูปหอก กว้าง 2 ซม. ยาว 7-11 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบ เส้นใบและก้านใบสีแดง</p><p><strong>ดอก</strong> สีแดงหรือสีขาว ออกเป็นช่อตามซอกใบใกล้ปลายยอด กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกบานเต็มที่มีขนาดประมาณ 7-8 ซม.</p><p><strong>ผล</strong> เป็นผลแห้ง สีดำ รูปขอบขนานแคบ มีสัน 5 สัน</p><p><strong>เมล็ด</strong></p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบบริเวณตามหุบเขาหรือริมลำธาร ชอบดินร่วนและชุ่มชื้น มีแสงแดดส่องปานกลาง พบปลูกมากในภาคเหนือและภาคอีสาน</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>จีน ญี่ปุ่น</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ต้น</strong> ทั้งต้น แก้ปวดหัว แก้ไข้ตัวร้อนจัด ขับเหงื่อ แก้ท้องขึ้น ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ลมหายใจมีกลิ่น เป็นยากระตุ้นความกำหนัด ยาหอม ชูกำลัง บำรุงกำลัง เปลือกต้น แก้ไข้ กล่อมเสมหะและโลหิต แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้บิด สมานแผล คุมธาตุ</p><p><strong>ราก</strong> นำมาต้มน้ำดื่ม แก้พิษ เป็นยาช่วยให้ประจำเดือนมาปกติ</p><p><strong>ใบ</strong> มีรสเย็นจืด แก้ไข้พิษ ไข้หวัด แก้พิษ และบำรุงหัวใจ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>ฐานข้อมูลพันธุกรรม. 2556. “สันพร้าหอม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://hort.ezathai.org/?p=616 (22 ตุลาคม 2559)</p><p>สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง ( องค์กรมหาชน ). 2553. “สันพร้าหอม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=1221&name=%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A1&txtSearch=&sltSearch= (22 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Eupatorium stoechadosmum Hance” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/gcc-138530 (22 ตุลาคม 2559)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Eupatorium L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:330053-2 (22 ตุลาคม 2559)</p><p>WIKIPEDIA. 2017. “Eupatorium fortunei.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Eupatorium_fortunei (22 ตุลาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้