Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Euphorbia</em> <em>hirta</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Chamaesyce</em> <em>gemella</em> (Lag.) Small</p><p><em>Chamaesyce</em> <em>hirta</em> (L.) Millsp.</p><p><em>Euphorbia</em> <em>bancana</em> Miq.</p><p><em>Euphorbia</em> <em>nodiflora</em> Steud.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> เป็นไม้ล้มลุก สูง 15-20 ซม. ลำต้นเล็ก เลื้อยแผ่ไปตามผิวดิน ชูยอดตั้งขึ้น ลำต้นและกิ่งก้านมีสีแดง มียางสีขาว</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน บริเวณข้อต้นรูปไข่ยาว ปลายใบแหลม โคนใบไม่เท่ากัน ขอบใบหยัก แผ่นใบบาง มีสีเขียว แผ่นใบล่างมีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุม ก้านใบสั้น</p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกมีสีเขียวปนม่วง ไม่มีกลีบเลี้ยง ไม่มีกลีบดอก ไม่มีก้านดอก</p><p><strong>ผล </strong>เป็นผลแห้งแตกออกได้ แบ่งเป็น 3 พู<strong> </strong></p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบได้ทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนทั่วโลก สำหรับในประเทศไทยสามารถพบได้ทุกภาค โดยมักขึ้นตามที่รกร้าง ชายป่า ท้องนา และในพื้นที่โล่งจนถึงระดับความสูงเหนือระดับทะเลปานกลางประมาณ 1,200 ม.</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง</p>
การกระจายพันธุ์
<p>พบกระจายเป็นบริเวณกว้าง ในแถบแอฟริกา เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ต้นสด</strong> เป็นยาแก้บิด บำรุงกำลัง ขับปัสสาวะ แก้ไอหืด แก้อาเจียน ขับน้ำนม แก้ไข้มาลาเลีย แก้หืดหอบ หลอดลมอักเสบ แก้แพ้อากาศ แก้กระษัย ไตพิการ รักษาโรคผิวหนังผื่นคัน แก้หนองใน ปัสสาวะเป็นเลือด ฝีในปอด ฝีที่เต้านม รักษาหูดตาปลาและถ่ายพยาธิ</p><p><strong>ราก</strong> ใช้รักษาโรคเอดส์</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “น้ำนมราชสีห์.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&id=841&view=showone&Itemid=132 (1 กันยายน 2559)</p><p>ThaiHerbal.org. 2014. “น้ำนมราชสีห์.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/1796 (1 กันยายน 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Euphorbia hirta L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-80144 (1 กันยายน 2559)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Euphorbia hirta.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:101651-2 (1 กันยายน 2559)</p><p> </p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้