Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Euphorbia</em> <em>kamponii</em> Rauh & Petignat</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้พุ่มขนาดเล็ก ไร้ใบ ไม่มีหนาม มีน้ำยางมาก อวบน้ำ ลำต้นและกิ่งก้านกลมสีเขียวอมน้ำตาล สูงประมาณ 3-7 ม. ปลูกไว้นาน ๆ จะแตกกิ่งก้านหนาทึบเป็นพุ่มเขียวเข้ม กิ่งทรงกระบอกขนาดเท่านิ้วมือ</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว ออกตามกิ่งก้านอ่อนและยอดก้านใบเล็ก ๆ ไม่มากนัก ลักษณะใบรูปแคบยาวแกมขอบขนาน ปลายใบมน สังเกตเหมือนไม่มีใบ จึงมีชื่อเรียกว่า “พญาไร้ใบ” แต่ความจริงแล้วมีใบเล็ก ๆ และจะร่วงหลุดไปง่าย ๆ เมื่อกิ่งก้านแก่มาก ๆ มีน้ำยางสีขาวคล้ายน้ำนม</p><p><strong>ดอก </strong>ออกดอกเป็นช่อแบบช่อรูปถ้วย ตามข้อหรือปลายกิ่ง ใบประดับเป็นรูปโล่ถ้วย ดอกสีขาวอมเหลืองอ่อนมีขนปกคลุม และมีต่อมรูปวงรี</p><p><strong>ผล </strong> ขนาดเล็ก ๆ มี 3 พู มีขนสีน้ำตาล ผลเป็นผลแห้งแตกได้</p><p><strong>เมล็ด </strong>ลักษณะรูปไข่ ผิวเรียบ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>มักขึ้นตามป่าเบญจพรรณและปลูกทั่วไป</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่มาดากัสการ์</p>
การกระจายพันธุ์
<p>หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ(เป็นหมู่เกาะร้างของประเทศชิลี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและตกปลาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้)</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดหรือปักกิ่งชำ </p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมปลูกเป็นพืชไม้ประดับ และนำส่วนต่าง ๆ มาทำเป็นยาสมุนไพร</p><p><strong>ใบและราก</strong> รสเฝื่อน โขลกพอกแก้ริดสีดวงทวาร</p><p><strong>ราก</strong> รสเฝื่อน ต้มดื่มแก้ธาตุพิการ ระบายท้อง ต้มกับน้ำมะพร้าวทาแก้ปวดท้อง</p><p><strong>ต้น</strong> รสเฝื่อน ต้มเอาน้ำดื่มแก้ปวดท้อง แก้กระเพาะอาหารอักเสบ โขลกพอกแก้กระดูกเดาะ แก้ปวดบวม</p><p><strong>ยาง</strong> รสเมาเบื่อร้อน มีพิษมาก ใช้กัดหูด ทาแก้ปวดข้อ ใช้เป็นยาแก้พยาธิของเด็ก โดยใช้ปลาขอดเกล็ดล้างให้สะอาด แล้วเอายางทาให้ทั่วตัวปลา เอาปลาย่างไฟจนสุก แล้วให้เด็กรับประทานเนื้อปลาที่สุกก็จะหายจากโรคพุงโร หรือตานขโมยได้ เนื่องจากพยาธิในท้อง</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ประโยชน์ดอทคอม. 2016. “พญาไร้ใบ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://prayod.com/%E0%B8%9E%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%9A/ (5 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Euphorbia kamponii Rauh & Petignat.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-80395 (5 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Euphorbia L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:327729-2 (5 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Euphorbia kamponii.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:986234-1 (5 พฤษภาคม 2560)</p><p>WIKIPEDIA. 2016. “Euphorbia kamponii.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Euphorbia_kamponii (5 พฤษภาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้