Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ficus</em> <em>auriculata</em> Lour.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Covellia</em> <em>macrophylla</em> Miq.</p><p><em>Ficus</em> <em>hainanensis</em> Merr. & Chun</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก สูงประมาณ 10-15 ม. เรือนยอดกลมแผ่กว้าง ลำต้นอ้วน และบิดงอ เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาลแดง</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว กว้าง 15-25 ซม. ยาว 20-35 ซม. รูปไข่กว้าง หรือเกือบกลม ปลายใบแหลมโคนใบรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือมีซี่หยักห่างๆ เส้นใบที่ฐาน 3-5 เส้น เส้นใบข้าง 4-6 คู่ ก้านใบบางครั้งจะมีแต้มสีแดงหูใบแหลม</p><p><strong>ดอก </strong>มีดอก 3 ประเภท คือ ดอกเพศผู้, เกสรเพศเมียแบบสั้น, และเกสรเพศเมียแบบยาว ทั้งสามประเภทนี้ อยู่ภายในโครงสร้างที่เรามักจะคิดว่าเป็นผล</p><p><strong>ผล </strong>เป็นกลุ่มแน่น บนก้านแข็งห้อยลงมาจากลำต้นและกิ่งสีน้ำตาลอมเหลือง เมื่อสุกสีน้ำตาลอมแดงหรือม่วงเข้ม รูปกลมหรือรี ฐานแคบ บางครั้งจะมีสันตื้นๆ ปลายผลเป็นกระจุกเป็นวงกลมสีขาว ก้านผลมีกาบกว้างเรียงเป็นวงที่ยอดผล </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบขึ้นได้ทั่วไป โดยเฉพาะตามริมธารน้ำในป่าดิบและเบญจพรรณชื้น ที่ระดับความสูงจากระดับทะเลจนถึง 1,200 ม. เหนือระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>แถบเอเชีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>จีนตอนใต้ ปากีสถาน อินเดีย ภูฏาน เนปาลพม่า ไทย เวียดนาม</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>-นิยมปลูกเพื่อรับประทานผล </p><p>-น้ำยางจากลำต้นถูกนำไปใช้รักษาบาดแผล, ผลคั่วใช้ในการรักษาโรคท้องร่วงและโรคบิด</p><p>-ปลูกเป็นพืชประดับ และพืชให้ร่มเงา</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>กองคุ้มครองพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2559. “เดื่อหว้า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/flora/plant_pages.php?varname=118 (7 เมษายน 2560)</p><p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “เดื่อหว้า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2&keyback=%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2 (7 เมษายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Ficus auriculata Lour.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2809581 (7 เมษายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Ficus auriculata.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:852452-1 (7 เมษายน 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2014. “Ficus auriculata.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Ficus+auriculata (7 เมษายน 2560)</p><p>WIKIPEDIA. 2017. “Ficus auriculata.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ficus_auriculata (7 เมษายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้