Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p> <em>Ficus</em> <em>benjamina</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Ficus</em> <em>benjamina</em> var. <em>benjamina</em></p><p><em>Ficus</em> <em>benjamina</em> var. <em>bracteata</em> Corner</p><p><em>Ficus</em> <em>benjamina</em> var. <em>bracteata</em> Yamazaki</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงไม่เกิน 10 ม. เรือนยอดกลม แผ่กลว้าง เปลือกต้นสีน้ำตาล กิ่งก้านห้อยย้อยลงมา โตช้า มีรากห้อยย้อยลงมาสวยงาม มีน้ำยางสีขาว</p><p><strong>ใบ</strong> ไม่ผลัดใบ ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5.0 ซม. ยาว 5-12 ซม. โคนใบมน ปลายใบเรียวแหลม แผ่นใบหนาเป็นมัน เส้นใบจำนวนมากก้านใบยาว 0.6-1.1 ซม.</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกช่อ ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน ดอกขนาดเล็ก</p><p><strong>ผล </strong>ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม สีน้ำตาล สีชมพู สีส้มแดง หรือสีม่วงดำเมื่อแก่ ไร้ก้าน</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักขึ้นกระจายในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา และบางครั้งอาจพบได้ตามเขาหินปูน จนถึงระดับทะเลปานกลางความสูงประมาณ 1,300 เมตร</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เอเชียเขตร้อน-เขตอบอุ่น</p>
การกระจายพันธุ์
<p>อินเดีย เนปาล ปากีสถาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ตอนกิ่ง ปักชำ เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>รากอากาศ</strong> ยาแก้กาฬโลหิต บำรุงโลหิต แก้ตกโลหิต ยาแก้กระษัย ยาบำรุงน้ำนมให้สมบูรณ์ ช่วยแก้อาการท้องเสีย ยาขับพยาธิ ยาขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ขับปัสสาวะให้คล่อง แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะมีสีต่างๆ ช่วยแก้ไตพิการ ช่วยแก้อาการอักเสบหรือลดการติดเชื้อ เช่น ฝีหรือรอยฟกช้ำ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “ไทรย้อยใบแหลม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A1&keyback=%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A1 (28 ตุลาคม 2559)</p><p>ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 2555. พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ ดอคคิวเมนทารี ดีไซด์ จำกัด. เชียงใหม่. 315 น.</p><p>ThaiHerbal.org. 2015. “ไทรย้อย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/2668 (28 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Ficus benjamina L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2809661 (28 ตุลาคม 2559)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Ficus benjamina.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:852486-1 (28 ตุลาคม 2559)</p><p> </p><p> </p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้