Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ficus carica</em> L. 'BTM 6'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Ficus</em> <em>carica</em> L.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong>: ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ลำต้น กิ่งก้านเป็นสีน้ำตาลเทา <strong>มะเดื่อฝรั่งพันธุ์ BTM 6 </strong>เป็นสายพันธุ์ที่พัฒนาและปลูกในประเทศไทย และเป็นพันธุ์เหมาะปลูกในเชิงพาณิชย์ เพาะให้ผลผลิตต่อต้นสูง</p><p><strong>ใบ</strong>: ใบเดี่ยว สีเขียวเข้ม เส้นใบสีเขียวอ่อน เป็นลูปหยักลึก</p><p><strong>ดอก</strong>: ออกเป็นช่อ ดอกมีขนาดเล็กอยู่ภายในส่วนที่เป็นฐานรองดอก ถูกโอบไว้ดูคล้ายผล ขนาดเล็ก ดอกมี 3 ประเภท ดอกเพศเมียก้านชูเกสรเพศเมียยาว ดอกเพศเมียก้านชูเกสรเพศเมียสั้น ดอกเพศผู้ </p><p><strong>ผล</strong>: ผลของมะเดื่อฝรั่งไม่ได้เป็นผลจริง แต่เป็นส่วนของฐานรองดอกที่ประกอบด้วยก้านช่อดอกโอบเข้าหากัน (Synconium) จัดเป็นผลแบบเมล็ดเดียว (Drupelet) ซึ่งมีขนาดเล็กเรียงกันอยู่ภายในก้านช่อผล <strong>มะเดื่อฝรั่งพันธุ์ BTM 6 </strong>ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีแดงอมม่วง รสชาติหวานพอเหมาะ เหมาะรับประทานสดและอบแห้ง </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ปลูกในที่ที่มีการกระบายน้ำดี แสงแดดส่องถึง ดินร่วน ดินทราย</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อินเดียและศรีลังกา</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ในเอเชียตะวันตก ตุรกี-ปากีสถาน แอฟริกาเหนือ (แอลจีเรีย โมร็อกโก ตูนิเซีย)</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด</p><p>ปักชำ</p><p>ตอนกิ่ง</p><p>การตัดแต่งกิ่งช่วงต้นฤดูใบไม้ผลิ โดยตัดกิ่งออกประมาณ 1/3 หรือ 1/4 ของกิ่งเก่า เพื่อเพื่มผลผลิตของมะเดื่อฝรั่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกประดับ</p><p>ปลูกเพื่อการค้า</p><p>ผลสามารถรับประทานได้ ทั้งผลสด และอบแห้ง ทำเป็นแยม หรือทำเป็นน้ำผลไม้</p><p>มะเดื่อฝรั่งเป็นแหล่งที่ดีของเส้นใยอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อขบวนการกำจัดของเสียในร่างกาย ในผลสดมีปริมาณเส้นใย 1.2 % ส่วนในผลอบแห้งสูงถึง 5.6 % เกลือ โปแตสเซียม กรดอินทรีย์ ของมะเดื่อฝรั่งช่วยสร้างความสมดุลระหว่างความเป็นกรด-ด่าง ในร่างกายโดยไม่ก่อให้เกิดกรดมากเกินไป</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลพันธุกรรมพืชสวน. 2014. “มะเดื่อฝรั่ง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://hort.ezathai.org/?p=3969 (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>บ้านสวนจิรานนท์. 2017. “BTM 6/Japan.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.baansuanchiranon.com/product/24/btm6-japan (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>สวนฟิกส์นะโม. 2017. “BTM6 Japan (ญี่ปุ่น).” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://namofig.lnwshop.com/product/3/btm6-japan-ญี่ปุ่น (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>Plants For A Future. 2012. “Ficus carica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.pfaf.org/user/plant.aspx?latinname=ficus+carica (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Ficus carica L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2809827 (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Ficus carica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:852556-1 (12 พฤษภาคม 2560)</p><p>Weloveshopping. “ ญี่ปุ่น BTM 6.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.weloveshopping.com/shop/showproduct.php?pid=25570782&shopid=274646 (12 พฤษภาคม 2560)</p><p> </p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้