Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Ficus</em> <em>religiosa</em> L. 'Variegata'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Ficus caudata </em>Stokes</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกสีเทา มีรากอากาศน้อย</p><p><strong>ใบ</strong> ไม่ผลัดใบหรือผลัดใบแต่น้อย ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ หูใบยาว 7-50 มม. มีขนละเอียดประปราย ก้านใบยาว 4-12 ซม. อาจจะยาวกว่าแผ่นใบ ใบรูปหัวใจ กว้าง 4-16 ซม. ยาว 7-19 ซม. โคนใบเว้ารูปหัวใจหรือตัดตรง ปลายใบเรียวแหลมแคบยาว ขอบใบมักไม่เรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย เมื่อแก่สีเขียวด่างขาว ผิวใบเกลี้ยง เส้นใบข้าง 6-9 คู่ ปลายโค้งจรดกันเกือบถึงขอบใบ</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกออกในโครงสร้างของผลตามซอกใบเป็นช่อและเป็นคู่ ภายในมีดอกเพศผู้ เพศเมีย และดอกปุ่มปม ดอกเพศผู้ไม่มีก้านอยู่ใกล้กับรูเปิดของผล กลีบรวม 2 กลีบ รูปใบหอกแกมรูปไข่สีแดงอ่อน ดอกเพศเมียอยู่ลึกลงไปไม่มีก้าน กลบรวม 3-4 กลีบ รังไข่สีเหลืองอ่อน</p><p><strong>ผล </strong>ค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม. รูเปิดมีใบประดับ กว้าง 2-3 มม. 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ หุ้มอยู่ด้านล่างของผลโดยรอบ คลุม 2 ใน 3 ของผล ผลสุกสีแดงเข้มถึงดำ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบได้ทั่วไปในป่าระดับล่างถึงระดับสูง 1,800 ม. เหนือจากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อนุทวีปอินเดีย เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียใต้ </p>
การกระจายพันธุ์
<p>แถบภูเขาหิมาลัย อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ปากีสถาน จนถึงจีนตอนใต้ และประเทศแถบคาบสมุทรอินโดจีน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>-นิยมปลูกเป็นไม้มงคล และไม้ให้ร่มเงา</p><p>-เปลือก ยาสมานแผล แก้แผลเปื่อยทำให้เกิดหนอนแห้ง แก้โรคผิวหนัง แก้ปวดฟันและรากฟันที่เป็นหนอง</p><p>-ยาง จากลำต้น แก้เท้าเป็นหล่อ และเป็นพยาธิ</p><p>-ลำต้น ลำต้นอ่อน ใช้บำบัดโรคผิวหนังและเป็นยาถ่าย</p><p>-ใบ ใช้แก้โรคผิวหนัง ไข้จับสั้นเรื้อรัง และเป็นยาถ่าย</p><p>-ผลหรือเมล็ด ใช้เป็นยาระบาย</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>มูลนิธิโครงการหลวง. 2552. องค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย เล่ม 2. อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร.752 น.</p><p>The Plant List. 2013. “Ficus religiosa L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2812027 (22 เมษายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Ficus religiosa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:853563-1 (22 เมษายน 2560)</p><p>WIKIPEDIA. 2017. “Ficus religiosa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Ficus_religiosa (22 เมษายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้