Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Flacourtia indica</em> (Burm.f.) Merr.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Flacourtia</em> <em>afra</em> Pic.Serm.</p><p><em>Flacourtia</em> <em>balansae</em> Gagnep.</p><p><em>Flacourtia</em> <em>elliptica</em> (Tul.) Warb.</p><p><em>Flacourtia</em> <em>frondosa</em> Clos</p><p><em>Flacourtia</em> <em>gambecola</em> Clos</p><p><em>Flacourtia</em> <em>heterophylla</em> Turcz.</p><p><em>Flacourtia</em> <em>hilsenbergii</em> C.Presl</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 2-15 ม. กิ่งใหญ่มีหนามแหลม กิ่งอ่อนมีหนาม กิ่งแก่ไม่มีหนาม หนามยาว 2-4 ซม. </p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปไข่กลับ กว้าง 1.5-3.0 ซม. ยาว 2-4 ซม. ปลายกว้าง โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ หรือเป็นจักใกล้ปลายใบ แผ่นใบคล้ายกระดาษ มีขนสั้นหนานุ่มทั้งสองด้าน ใบอ่อนและเส้นกลางใบสีแดงอมส้ม</p><p><strong>ดอก</strong> ดอกออกแบบช่อกระจะ เป็นช่อสั้นๆ ปลายกิ่งและตามซอกใบ ดอกขนาดเล็กสีขาว ดอกแยกเพศ อยู่คนละต้น กลีบดอก 5-6 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้จำนวนมาก</p><p><strong>ผล</strong> ติดผลตามกิ่งผลทรงกลม หรือรี เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.0 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่สีแดงคล้ำ ฉ่ำน้ำ</p><p><strong>เมล็ด</strong> 5-8 เมล็ด </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบตามป่าเต็งรัง ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าผสมผลัดใบ ตลอดจนตามริมแม่น้ำ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>แอฟริกา และเขตร้อนของเอเชีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>พบทั่วไปตั้งแต่เอเชีย แอฟริกา โพลีเนเซีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมปลูกประดับตามสวน หรือสถานที่ต่าง ๆ มีการตัดแต่งทรงพุ่มตลอดเวลาเพื่อความสวยงาม</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ชื่อพรรณไม้ เต็ม สมิตินันทน์. “ตะขบป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/botany/mplant/word.aspx?linkback=localname&localname=%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2&keyback=%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2 (23 เมษายน 2560)</p><p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “ตะขบป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=45 (23 เมษายน 2560)</p><p>วิกิพีเดีย. 2559. “ตะขบป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%82%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%B2 (23เมษายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Flacourtia indica (Burm.f.) Merr.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-4813254 (23เมษายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Flacourtia indica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:365348-1 (23เมษายน 2560)</p><p>WIKIPEDIA. 2017. “Flacourtia indica.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Flacourtia_indica (23เมษายน 2560)</p><p> </p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้