Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Garcinia</em> <em>vilersiana</em> Pierre</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ไม้ยืนต้นเหมือนต้นพะวา มีขนาดสูงประมาณ 10-15 ม.</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยว ใหญ่กว่าต้นพะวาปกติ ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้าม ใบรูปไข่กลับ ปลายใบมนกว้าง เนื้อใบค่อนข้างหนาผิวมัน เส้นแขนงใบถี่ เส้นกลางใบเป็นร่องทางด้านหลังใบ</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกเดี่ยว ดอกเพศเมียขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าดอกตัวผู้ มีกลีบเลี้ยงสีเหลือง 4 กลีบ กลีบดอกสีเหลือง 4 กลีบ ตรงกลางเป็นที่ตั้งของรังไข่ ซึ่งพัฒนาต่อไปเป็นผล ปลายรังไข่มียอดเกสรตัวเมียมีลักษณะเป็นแฉก 6-8 แฉก ดอกเพศผู้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 ซม. (เมื่อดอกบาน) ประกอบด้วยกลีบเลี้ยงสีเหลืองถึงเหลืองเข้ม 4 กลีบ กลีบดอกสีเหลือง 4 กลีบ เมื่อบานจะมีเกสรตัวผู้เป็นวงล้อมขอบยอดเกสรตัวเมีย</p><p><strong>ผล </strong>ผลทรงรูปไข่ผิวเรียบ พัฒนาโดยไม่มีการผสมเกสร เมื่อเป็นผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อสุกจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีส้มและแดงในที่สุด เนื้อหุ้มเมล็ดในผลมีลักษณะเป็นกลีบใสและมีเส้นขาวขุ่น มีรสชาติฝาดอมเปรี้ยว</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบในป่าดิบชื้น ทางภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ที่ความสูง700 ม. เหนือระดับทะเลปานกลาง </p>
ถิ่นกำเนิด
<p>พืชในจีนัสนี้เป็นพืชพื้นเมืองในออสเตรเลีย เอเชีย แอฟริกาใต้และโพลีเนเซีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ในต่างประเทศพบที่พม่า อินเดีย และเกาะนิโคบาร์</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ผลสุกรับประทานได้ ผลใช้เป็นยาระบายอ่อนๆ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>วิกิพีเดีย. 2557. “สกุลมังคุด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%94 (17 พฤษภาคม 2560)</p><p>สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “พะวา.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&view=showone&id=649 (17 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Garcinia vilersiana Pierre.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2817245 (17 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Garcinia vilersiana.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:428303-1 (17 พฤษภาคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้