Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Gossypium</em> <em>arboreum</em> L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Gossypium</em> <em>albiflorum</em> Tod.</p><p><em>Gossypium</em> <em>arboreum</em> var. <em>cernuum</em> (Tod.) Hutch. & Ghosh</p><p><em>Gossypium</em> <em>arboreum</em> var. <em>arboreum</em></p><p><em>Gossypium</em> <em>arboreum</em> var. <em>nangking</em> (Meyen) Roberty</p><p> </p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ฝ้ายแดงเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง ลำต้นมีความสูงประมาณ 2-4 ม. แตกกิ่งก้านสาขาออกไปรอบต้น เป็นพุ่มโปร่ง มีกิ่งก้านที่แข็งแรง เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีม่วงแดงหรือสีน้ำตาลแดง</p><p><strong>ใบ</strong> เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปฝ่ามือ ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบมนเว้า ขอบใบเว้าลึกเป็นแฉก 3-7 แฉกคล้ายฝ่ามือ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 4-5 ซม. และยาวประมาณ 5-7 ซม. หลังใบเรียบ เส้นใบเป็นสีแดงแตกออกจาก ก้านใบเป็นสีแดงเช่นเดียวกับเส้นใบ</p><p><strong>ดอก </strong>เป็นดอกเดี่ยว โดยจะออกตามซอกใบใกล้บริเวณปลายกิ่ง ดอกเป็นสีแดงเข้มหรือสีเหลืองอ่อน ตรงกลางดอกเป็นสีม่วงแดงหรือสีม่วงดำประแต้มไปด้วยสีเหลือง ใบประดับ 3 ใบ ลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมซ้อนกัน กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ส่วนกลีบดอกบางมี 5 กลีบ วางเรียงเวียนซ้อนกัน ดูสวยงาม โคนกลีบดอกติดกัน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็นหลอดล้อมรอบเกสรเพศเมีย ปลายเกสรเพศเมียแยกเป็นแฉก 5 แฉก</p><p><strong>ผล </strong>ผลมีลักษณะกลมเป็นรูปทรงสามเหลี่ยม หัวท้ายแหลม ผิวผลลื่นสีเขียวอมแดง มีกลีบรองดอกหุ้มอยู่ พอแก่จะแตกออกเป็นปุยฝ้าย</p><p><strong>เมล็ด </strong>เมล็ดค่อนข้างกลมสีเขียว มีจำนวนมาก ปกคลุมไปด้วยขนยาวสีขาว<strong> </strong></p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>สามารถขึ้นได้ในดินอุดมสมบูรณ์ทั่วไป อีกทั้งมีความต้องการน้ำและความชื้นในปริมาณที่ปานกลาง ซึ่งมักจะขึ้นบริเวณที่รกร้างว่างเปล่าทั่วไป</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>อินเดีย, ปากีสถาน รวมถึงประเทศเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนอื่นๆ</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ประเทศเขตร้อนในแอฟริกาและเอเชีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ใบ </strong>แก้ไข้ ช่วยขับเหงื่อ ลดความร้อน แก้พิษตานซางในเด็ก</p><p><strong>ราก </strong>แก้ไข้ ช่วยขับเหงื่อ ลดความร้อน แก้พิษตานซางในเด็ก</p><p><strong>เปลือกราก</strong> บดเป็นผง ชงน้ำเดือดดื่มช่วยขับปัสสาวะ บีบมดลูก ช่วยขับน้ำคาวปลา</p><p><strong>เปลือกต้น </strong>ขับปัสสาวะ ช่วยบีบมดลูก ทำให้แท้ง และช่วยขับน้ำคาวปลาของสตรี</p><p><strong>เมล็ด </strong>รักษาโรคหนองใน น้ำมันจากเมล็ดใช้ในการเตรียมสบู่และใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่น</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2553. “ฝ้ายแดง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/siri/index.php?page=search_detail&medicinal_id=92 (25 ตุลาคม 2559)</p><p>Thaiherbal.org. 2558. “ฝ้ายแดง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/2126/2126<br />(25 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Gossypium</em> <em>arboreum</em> L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2830992 (21 พฤษภาคม 2560)</p><p>Useful Tropical Plants Database. 2014. “<em>Gossypium arboreum</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Gossypium+arboreum (25 ตุลาคม 2559)</p><p>WIKIPEDIA. 2017. “<em>Gossypium arboreum</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Gossypium_arboreum (25 ตุลาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้