Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Amorphophallus</em> <em>paeoniifolius</em> (Dennst.) Nicolson</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Amorphophallus</em> <em>campanulatus</em> Decne.</p><p><em>Amorphophallus</em> <em>campanulatus</em> var. <em>blumei</em> Prain</p><p><em>Amorphophallus</em> <em>campanulatus</em> f. <em>darnleyensis</em> F.M.Bailey</p><p><em>Amorphophallus</em> <em>chatty</em> Andrews</p><p><em>Amorphophallus</em> <em>decurrens</em> (Blanco) Kunth</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น </strong>ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 5 ฟุต เจริญเติบโตในฤดูฝน และพักตัวในฤดูหนาว มีหัวใต้ดินขนาดใหญ่ สีน้ำตาล มีอายุอยู่ได้นานหลายปี ลำต้นกลม อวบน้ำ ไม่มีแก่น ผิวขรุขระ มีลายสีเขียวสีแดง หัวบุกมีลักษณะค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 15 เซนติเมตรขึ้นไป เนื้อในหัวสีชมพูสด เหลืองอมชมพู หรือขาวเหลือง</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเป็นใบเดี่ยว ออกที่ปลายยอด ใบแผ่ออกคล้ายกางร่มแล้วหยักเว้าเข้าหาเส้นกลางใบ ขอบใบจักเว้าลึก ก้านใบยาว 150-180 เซนติเมตร กลม อวบน้ำ </p><p><strong>ดอก </strong>ดอกออกเป็นช่อแทงขึ้นมาจากหัวใต้ดิน บริเวณโคนต้น เป็นแท่งมีลายสีเขียวหรือสีแดงแกมสีน้ำตาลแล้วแต่พันธุ์ ช่อดอกมีกาบหุ้ม ลักษณะเป็นแท่งสีแดงแกมน้ำตาล ก้านช่อดอกสั้น มีใบประดับ รูปกรวยหุ้มช่อดอก ขอบหยักเป็นคลื่น และบานออก ปลายช่อ ดอกเป็นรูปกรวยคว่ำขนาดใหญ่ ยับเป็นร่องลึก สีแดงอมน้ำตาลหรือสีม่วงเข้ม ดอกตัวผู้อยู่ตอนบน ดอกตัวเมียอยู่ตอนล่าง มีกลิ่นเหม็นคล้ายซากสัตว์เน่า </p><p><strong>ผล</strong> ผลรูปทรงรียาว เป็นผลสด เนื้อนุ่ม ผลอ่อนสีเขียว พอสุกเป็นสีเหลือง สีส้มจนถึงแดง มีจำนวนมากติดกันเป็นช่อ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดิบชื้น พื้นที่สูง 700 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>บุกคางคกเป็นพืชพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ </p>
การกระจายพันธุ์
<p>พบที่มาดากัสการ์ อินเดีย จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค </p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>แยกกอ แบ่งหัว ใช้เมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>หัว</strong> มีรสเบื่อเมา คัน กัดเสมหะเถาดาน แก้เลือดจับเป็นก้อน หุงกับน้ำมัน ใส่บาดแผล กัดฝ้าและกัดหนองดี (สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยระหว่างพักฟื้น เป็นอาหารดูดสารพิษ ขจัดไขมันในเลือด และปรุงอาหารรักษาสุขภาพ) นำหัวมาต้มกับน้ำ แก้โรคตับ โรคท้องมาน ยากัดเสมหะ แก้ไอ</p><p><strong>ญี่ปุ่น</strong> ใช้ ทำอาหารลดความอ้วน</p><p>ลำต้นใช้ใส่แกงเป็นอาหารได้<br /> </p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “บุกคางคก.” [ระบบออนไลน์]. http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=68 (25 กันยายน 2560)</p><p>สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2559. "บุกคางคก." [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsLinkno=3096&words=บุกคางคก&typeword=word (25 กันยายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Amorphophallus</em> <em>paeoniifolius</em> (Dennst.) Nicolson.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-8254 (25 กันยายน 2560)</p><p>wikipedia. “บุกคางคก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wikiบุกคางคก (25 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้