รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02703


ชื่อวิทยาศาสตร์

Hibiscus rosa-sinensis L.

สกุล

Hibiscus L.

สปีชีส์

rosa-sinensis

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
ชบาถ้วยทอง
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
MALVACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ลำต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านจำนวนมาก เปลือกสีเทาปนน้ำตาล

ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ขอบใบจักฟันเลื่อย แผ่นใบบาง ผิวใบด้านบนสีเขียวสดเป็นมัน

ดอก ออกเป็นดอกเดี่ยวตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลืองตรงกลางดอกสีชมพู โคนกลีบดอกซ้อนเกยกันเป็นหลอดปลายแยก 5 กลีบ ปลายกลีบหยักเป็นคลื่น

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แสงแดดส่องถึง

ถิ่นกำเนิด

อินเดีย

การกระจายพันธุ์

ทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง และเสียบกิ่ง

ระยะเวลาการติดดอก
ตลอดปี
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

สามารถปลูกเป็นพืชประดับตามสวน หรือสถานที่ต่าง ๆได้

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ฐานข้อมูลพรรณไม้ที่ใช้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม. “ชบาฮาวาย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/webpage/Shrubs/ชบาฮาวาย.html (18 พฤษภาคม 2560)

NanaGarden.com. 2014. “ชบาถ้วยทอง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.nanagarden.com/product/211514 (18 พฤษภาคม 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Hibiscus rosa-sinensis L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:560756-1 (4 พฤศจิกายน 2560)

Wikipedia. 2017. “Hibiscus rosa-sinensis.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Hibiscus_rosa-sinensis (18 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้