รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-02806


ชื่อวิทยาศาสตร์

Hoya ciliata Elmer ex C.M.Burton

สกุล

Hoya R.Br.

สปีชีส์

ciliata

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
โฮย่า
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Black Hoya
ชื่อวงศ์
APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้เลื้อย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น เป็นไม้เลื้อย

ใบ ใบกว้างรูปไข่ ใบหนาอ้วน ปลายใบแหลม ใบสีเขียว

ดอก ช่อดอกห้อยลง มีช่อละ 8-10 ดอก ดอกรูปดาว ขนาดประมาณ 2 ซม. กลีบดอกโค้งขึ้น ดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ มันวาว ไม่มีขน ดอกสีแดงอมดำ มงกุฎสีเหลืองตรงกลางสีแดงดำ

สภาพนิเวศ
ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่ร่มรำไร อากาศเย็น มีความชิ้น

ถิ่นกำเนิด

ฟิลิปปินส์

การกระจายพันธุ์

พืชในจีนัสนี้มีการกระจายพันธุ์หลายแห่ง เช่น ไทย อินเดีย จีน มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกีนี และออสเตรเลีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการปักชำ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับสถานที่ ปลูกเลื้อยตามซุ้ม ตามต้นไม้

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

อุไร จิรมงคลการ. 2551. สำนักพิมพ์บ้านและสวน"โฮย่า HOYA คู่มือคนรักต้นไม้ชุดที่ 5". อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. กรุงเทพมหานคร. 126 น.

Gardino Nursery. “HOYA CILIATA Black Hoya.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.rareflora.com/hoyacil.html (7 พฤศจิกายน 2560)

Hoyor.net. “Hoya ciliata Elmer ex C.M.Burton.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.hoyor.net/en/showspecies.php?id=68 (7 พฤศจิกายน 2560)

The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Hoya ciliata Elmer ex C.M.Burton.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:934694-1 (7 พฤศจิกายน 2560)

Wikipedia. 2017. “Hoya.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://en.wikipedia.org/wiki/Hoya (22 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้