Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Hoya finlaysonii </em>Wight (NOVA)</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> เป็นไม้เลื้อย มีน้ำยางขาว</p><p><strong>ใบ</strong> ใบรูปรี กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-20 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย สีเขียวคล้ำ เห็นเส้นใบชัดเจน มีแต้มสีขาวประปราย</p><p><strong>ดอก</strong> ช่อดอกกลมห้อยลง แต่ละช่อมี 10-20 ดอก เมื่อบานเต็มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. กลีบดอกสีครีม ปลายกลีบสีแดงสดเรื่อและงุ้มงอไปทางก้าน มงกุฎสีขาวครีม เส้าเกสรสีเหลือง </p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่ร่มรำไร อากาศเย็น มีความชื้น</p>
ถิ่นกำเนิด
<p><em>Hoya finlaysonii</em> Wight. มีถิ่นกำเนิดมาจาก บอร์เนียว มลายา สุมาตรา และไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p><em>Hoya finlaysonii</em> Wight. มีการกระจายพันธุ์ใน เอเชียเขตร้อน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกประดับสถานที่ ปลูกเลื้อยตามซุ้ม ตามต้นไม้</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>อุไร จิรมงคลการ. 2551. สำนักพิมพ์บ้านและสวน"โฮย่า HOYA คู่มือคนรักต้นไม้ชุดที่ 5". อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. กรุงเทพมหานคร. 126 น.</p><p>Bangkok hoya. “Hoya finlaysonii ‘Nova’.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://bangkokhoya.wordpress.com/2013/03/02/hoya-finlaysonii-nova/ (23 พฤษภาคม 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “<em>Hoya finlaysonii</em> Wight.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:98465-1 (10 พฤศจิกายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้