รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03088


ชื่อวิทยาศาสตร์

Hoya sp. 'Pahang' (NS07-064)

สกุล

Hoya R.Br.

สปีชีส์

-

Variety

Pahang

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
โฮย่า
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้เลื้อย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ไม้เลื้อย มียางขาว

ใบ ใบหนา อวบ รูปไข่ รูปรี มีเส้นใบหลัก 3-5 เส้น ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปหัวใจ ใบสีเขียว 

ดอก ออกเป็นช่อแบบซี่ร่ม ออกตามซอกใบ ดอกรูปกลม สีม่วงเข้มแกมแดง โคนกลีบเชื่อมติดกัน งอ หุ้มไปด้านหลัง มงกุฎสีม่วงเข้มแกมแดง ยอดเกษรเพศเมียสีครีม

สภาพนิเวศ
ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

เจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่ร่มรำไร อากาศเย็น มีความชิ้น

ถิ่นกำเนิด

เอเชีย

การกระจายพันธุ์

พืชในจีนัสนี้มีการกระจายพันธุ์หลายแห่ง เช่น ไทย, อินเดีย, จีน, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, นิวกีนี และออสเตรเลีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

เพาะเมล็ด ปักชำ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับสถานที่ ปลูกเลืิ้อยตามต้นไม้ตามซุ้ม

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

 Plantanica. 2015. “HOYA SP PAHANG - IMPORT.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://plantanica.se/hoya-sp-pahang-import (19 มิถุนายน 2560)

WIKIPEDIA. 2017. “Hoya.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Hoya (22 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้