รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03092


ชื่อวิทยาศาสตร์

Hoya sp. 'PNG Indo' (UT-218)

สกุล

Hoya R.Br.

สปีชีส์

-

Variety

PNG Indo

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
โฮย่า
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้เลื้อย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ไม้เลื้อย ทุกพันธุ์มีลักษณะเป็นปล้อง มักมี 2 ใบที่ ข้อ แต่บางพันธุ์ออกใบเป็นกลุ่ม รอบข้อส่วนมากมียางสีขาวในลำต้น

ใบ ใบรูปไข่ปลายแหลม ใบสีเขียว เห็นเส้นใบชัดเจน

ดอก ช่อดอกแบบซี่ร่ม ดอกตูม หลังกลีบดอกมีลายสีน้ำตาลแดง ดอกบานกลีบดอกสีครีมขุ่นๆ กลีบดอกมันวาว มงกุฎสีขาว

สภาพนิเวศ
ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

พบตามป่าฝนเขตร้อนเหมือนป่าดงดิบ มีแสงส่องถึง นอกจากนี้ยังพบในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งใบแถบอินโดจีน รวมทั้งบนหุบเขาสูงซึ่งเป็นป่าดิบเขาในเขตกึ่งร้อน

ถิ่นกำเนิด

เอเชีย

การกระจายพันธุ์

กระจายพันธุ์ครอบคลุมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนบนของทวีปออสเตรเลีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

เพาะเมล็ด ปักชำ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับสถานที่ ปลูกเลืิ้อยตามต้นไม้ตามซุ้ม

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

วิกิพีเดีย. “นมตำเลีย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/นมตำเลีย (21 มิถุนายน 2560)

Epiphytica. “Hoya sp. (UT-218)
PNG Indo..” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.epiphytica.com/Hoya%208.html (21 มิถุนายน 2560)

WIKIPEDIA. 2017. “Hoya.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Hoya (22 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้