รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03103


ชื่อวิทยาศาสตร์

Hoya sp. (UT-010) (Sinsingon Highlands, Sulawesi )

สกุล

Hoya R.Br.

สปีชีส์

-

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
โฮย่า
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
-
ชื่อวงศ์
APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้เลื้อย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ไม้เลื้อย ทุกพันธุ์มีลักษณะเป็นปล้อง มักมี 2 ใบที่ ข้อ แต่บางพันธุ์ออกใบเป็นกลุ่ม รอบข้อส่วนมากมียางสีขาวในลำต้น

ใบ ใบของ Hoya ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้าง ส่วนมากค่อนข้างหนา บางพันธุ์สะสมน้ำในใบเหมือนกุหลาบหิน ใบมีรูปทรงแตกต่างกันมาก ตั้งแต่รูปเป็นแท่งคล้ายดินสอ ไปจนถึงรูปกลม รูปไข่ รูปใบโพธิ์ รูปขนาน รูปหัวใจ รูปสี่เหลี่ยมแถบกว้าง แถบแคบ บางชนิดมีผิวใบหยาบเหมือนแผ่นหนัง หรือมีขนคล้ายกำมะหยี่ปกคลุม

ดอก ช่อดอกแบบซี่ร่ม จำนวนดอกต่อช่อมีตั้งแต่ 7 - 70 ดอกต่อช่อ ช่อดอกบางพันธุ์อยู่ที่ยอดอ่อนบางพันธุ์เกิดที่ปลายยอด บางพันธุ์เกิดที่ข้อใต้ใบ และบางพันธุ์ยังแตกก้านช่อดอกเป็นแขนงออกได้ ดอกออกเป็นดอกสมบูรณ์เพศมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 แฉก กลีบดอกเป็นมัน จึงมีชื่อเรียกว่า Wax Plant หรือบางชนิดกลีบดอกมีขนฟูคล้ายกำมะหยี่ปกคลุม มีส่วนที่คล้ายมงกุฎ 5 แฉก ครอบอยู่ตรงกลางเหนือกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน อยู่ระหว่างแฉกของมงกุฎ ส่วนเกสรเพศเมีย 1 อัน อยู่กึ่งกลางมงกุฎ

สภาพนิเวศ
ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

พบตามป่าฝนเขตร้อนเหมือนป่าดงดิบ มีแสงส่องถึง นอกจากนี้ยังพบในป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้งใบแถบอินโดจีน รวมทั้งบนหุบเขาสูงซึ่งเป็นป่าดิบเขาในเขตกึ่งร้อน

ถิ่นกำเนิด

เอเชีย

การกระจายพันธุ์

กระจายพันธุ์ครอบคลุมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และตอนบนของทวีปออสเตรเลีย

การปลูกและการขยายพันธุ์

เพาะเมล็ด ปักชำ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับสถานที่ ปลูกเลื้อยตามซุ้มตามต้นไม้

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

วิกิพีเดีย. “นมตำเลีย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/นมตำเลีย (18 มิถุนายน 2560)

WIKIPEDIA. 2017. “Hoya.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Hoya (22 พฤษภาคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้