Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Hylocereus</em> <em>undatus</em> (Haw.) Britton & Rose</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Cereus</em> <em>tricostatus</em> Rol.-Goss.</p><p><em>Cereus</em> <em>trigonus</em> var. <em>guatemalensis</em> Eichlam</p><p><em>Cereus</em> <em>undatus</em> Pfeiff.</p><p><em>Cereus</em> <em>undatus</em> Pfeiff.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>แก้วมังกรเป็นเป็นไม้เลื้อย ลำต้นค่อนข้างอ่อนจึงจำเป็นต้องมีหลักให้ลำต้นเกาะยึด ขนาดของลำต้นมีความยาวประมาณ 5 ม. มีระบบรากทั้งในดินและรากอากาศ </p><p><strong>ดอก</strong> ดอกมีสีขาวขนาดใหญ่กลีบยาวเรียงซ้อนกัน โดยดอกจะบานในเวลาตอนกลางคืน </p><p><strong>ผล </strong>ผลแก้วมังกรมีรูปทรงเป็นทรงกลมรี สีของเปลือกผลเมื่อดิบเป็นสีเขียว เมื่อสุกเป็นมีสีแดงม่วงหรือสีบานเย็น มีกลีบเลี้ยงสีเขียวติดอยู่รอบผล ผลแก้วมังกรส่วนใหญ่มีน้ำหนักประมาณ 300 – 600 กรัม เมื่อผ่าผลแก้วมังกรจะเห็นเนื้อของผลแก้วมังกรสีขาวหากผลนั้นเป็นแก้วมังกรพันธุ์เวียดนามหรือพันธุ์ไทย และเนื้อผลจะมีสีแดงหรือชมพูเมื่อผลนั้นเป็นพันธุ์เนื้อสีแดง </p><p><strong>เมล็ด </strong>มีเมล็ดสีดำเล็กคล้ายๆเม็ดงา หรือเม็ดแมงลัก กระจายฝังอยู่ทั่วเนื้อ</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>สามารถปลูกได้ทั่วประเทศ โดยหลักอยู่ที่จังหวัดจันทบุรี ชลบุรี กาญจนบุรี สระบุรี และสมุทรสงคราม ชอบดินร่วนระบายน้ำดี ชอบแสงแดดพอเหมาะ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ถิ่นกำเนิดไม่ทราบแน่ชัด แต่น่าจะมาจาก อินเดียตะวันตก แคริเบียน ใต้ของเม็กซิโก ผ่านเบลีซ กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ และคอสตาริกา</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เติบโตขึ้นอย่างแพร่หลายทั่วโลกในเขตร้อน</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ปักชำ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>-สามารถปลูกเป็นพืชประดับเพื่อความสวยงามได้</p><p>-ผลเมื่อสุกแล้ว สามารถรับประทานสดได้ นอกจากนี้ผลยังมีประโยชน์ทางด้านสมุนไพร เช่น บำรุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ดับร้อน ดับกระหาย เสริมสร้างภูมิต้านทาน ลดน้ำหนักและช่วยควบคุมน้ำหนัก ต่อต้านอนุมูลอิสระในร่างกาย ชะลอวัยความแก่ชรา และริ้วรอย ป้องกันการเกิดโรคหัวใจ ป้องกันการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ รักษาโรคเบาหวาน บรรเทาอาการโรคความดันโลหิต บรรเทาอาการของโรคโลหิตจาง ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็ง ป้องกันโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก ป้องกันการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ กระตุ้นการขับน้ำนมในสตรี ดูดซับสารพิษต่างๆออกจากร่างกาย บำรุงกระดูกและฟัน ขับถ่ายให้สะดวก แก้อาการท้องผูก ปรับสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ เสริมสร้างการทำงานของระบบกำจัดของเสียในร่างกาย</p><p> </p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “แก้วมังกร” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/1384/1384 (31 มกราคม 2560)</p><p>Cactus-art. “Hylocereus undatus.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.cactus-art.biz/schede/HYLOCEREUS/Hylocereus_undatus/Hylocereus_undatus/Hylocereus_undatus.htm (31 มกราคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Hylocereus undatus (Haw.) Britton & Rose.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2856879 (31 มกราคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้