Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Jatropha multifida </em>L.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Adenoropium</em> <em>multifidum</em> (L.) Pohl</p><p><em>Jatropha</em> <em>janipha</em> Blanco</p><p><em>Manihot</em> <em>multifida</em> (L.) Crantz</p><p> </p><p> </p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> สูงถึง 5-6 ม. กิ่งหนาถึง 20 ซม. เปลือกสีเทา น้ำตาลแกมดำ กิ่งอ่อนสีเขียว มีน้ำยางเมื่อเกิดบาดแผล</p><p><strong>ใบ</strong> เดี่ยว เรียงสลับ ใบยาว 15-30 ซม. สีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 10-20 ซม. มีหูใบ ขนาด 1.5-2.0 ซม. ปลายใบแยกเป็นแฉก 7-12 แฉก ยาว เรียวแหลม </p><p><strong>ดอก</strong> แยกเพศ สีแดงสด ก้านช่อดอกยาว ดอกเพศผู้ กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปใบหอกกลับ 5 กลีบ สีแดง เกสรเพศผู้ 8 อัน ดอกเพศเมีย ออกเป็นช่อกระจุก </p><p><strong>ผล</strong> แตกเมื่อแห้ง สีเหลืองสด กว้างและยาว 1.5-4.0 ซม. </p><p><strong>เมล็ด</strong> รูปไข่ ขนาดประมาณ 15 มม. สีน้ำตาล</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พื้นที่สูง 1,400 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดในหมู่เกาะอินเดียตะวันตก ฟลอริด้าตอนใต้ ตะวันตกเฉียงใต้ของเท็กซัส เม็กซิโก และตะวันตกเฉียงใต้ของบราซิล</p>
การกระจายพันธุ์
<p>แองโกลา บังกลาเทศ เบอร์มิวดา โบลิเวีย บราซิล กัมพูชา กาบูเวร์ดี หมู่เกาะเคย์แมน สาธารณรัฐแอฟริกากลา Himalaya รัฐฟลอริดา แกมเบีย อ่าวกินี ฮาวาย อินเดีย จาไมกา หมู่เกาะนิโคบาร์ ปารากวัย เปรู ซามัว โตโก เวเนซุเอลา </p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>น้ำยาง</strong> ใช้ใส่แผลสดช่วยสมานแผล ใช้ทาแผลปากเปื่อย มีดบาด ช่วยให้แผลหายเร็ว</p><p><strong>ราก </strong>มีลักษณะคล้ายรากมันสำปะหลัง เผาไฟแล้วกินได้ </p><p><strong>ต้น </strong>ยางต้นใช้ทาแผลอักเสบเรื้อรัง </p><p><strong>ใบ </strong>น้ำต้มใบกินเป็นยาถ่าย และสระผมแก้เหา</p><p><strong>เมล็ด</strong> มีน้ำมันประมาณ 30% กินเป็นยาถ่ายอย่างแรง และทำให้อาเจียน แต่มีอันตรายมาก ถึงขนาดใช้เป็นยาเบื่อได้ จึงไม่นิยมใช้กัน หีบเอาน้ำมันได้ ใช้ทั้งภายในและภายนอก เป็นยาทำให้แท้งบุตร</p><p><strong>เปลือกลำต้น</strong> มีรสฝาด นำมาปรุงเป็นยาแก้อาเจียน แก้ท้องเสีย แก้ปวดเบ่ง แก้ปวดเมื่อยตามข้อ แก้ลงแดง และเป็นยาคุมธาตุ เป็นต้น</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง (องค์กรมหาชน). 2553. “มะละกอฝรั่ง, ฝิ่นต้น.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=630&name=มะละกอฝรั่ง,%20ฝิ่นต้น (12 มิถุนายน 2560)</p><p>LLIFLE-Encyclopedia of living forms. “Jatropha multifida L..” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.llifle.com/Encyclopedia/SUCCULENTS/Family/Euphorbiaceae/29028/Jatropha_multifida (12 มิถุนายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Jatropha multifida L..” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-104773 (12 มิถุนายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens, Kew science. “Jatropha multifida L.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:314308-2 (10 พฤศจิกายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้