Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lagerstroemia</em> <em>floribunda</em> Jack</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. ลำต้นเปลาตรง ส่วนโคนต้นเป็นพูพอน เปลือกนอกสีครีม ผิวเรียบลอกเป็นแผ่นบาง เรือนยอดกลม</p><p><strong>ใบ</strong> ผลัดใบ ใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม ใบรูปขอบขนานและรูปใบหอก กว้าง 4-9 ซม. ยาว 12-20 ซม. โคนมน ปลายใบมีติ่งแหลม ใบอ่อนมีขนปกคลุม ใบแก่เกลี้ยงหรือมีขนประปราย ขอบใบเรียบเป็นคลื่นบ้างเล็กน้อย</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกช่อแยกแขนง ดอกออกปลายกิ่ง ยาว 30-40 ซม. ก้านช่อดอกและดอกตูมมีขนสีน้ำตาลทองปกคลุม ดอกบานเต็มที่ กว้าง 3.0-3.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5-6 อัน มีสัน 10-12 สัน มีขนสีน้ำตาลทองปกคลุม กลีบดอกสีม่วงปนขมพูหรือสีกุหลาบ 5-6 กลีบ เป็นแผ่นกลมและมีก้าน กลีบดอกยับย่น กลีบดอกแก่จะสีขาว เกสรเพศผู้จำนวนมากสีเหลือง รังไข่มีจนคลุมแน่น ภายในแบ่งเป็น 6 ช่อง แต่ละช้องมีไข่จำนวนมาก</p><p><strong>ผล </strong>ผลแห้ง รูปรีแกมขอบขนาน 1.5-2.0 ซม. แตกตามยาว 6 แฉก</p><p><strong>เมล็ด </strong>เมล็ดเล็กสีน้ำตาล มีปีก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดงดิบ ป่าน้ำท่วม และตามท้องนาทั่วทุกภาค</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเขตร้อนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้</p>
การกระจายพันธุ์
<p>พบในประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย ไทย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ไม้</strong> ใช้ในการก่อสร้าง เสา กระดาน พื้น</p><p><strong>ราก</strong> แก้ปวดกล้ามเนื้อ</p><p><strong>เปลือก</strong> แก้บิด แก้ท้องร่วง บำรุงโลหิต ขับระดูขาว</p><p><strong>ใบ </strong>แก้ไข้ บำรุงตับ บำรุงปอด บำรุงหัวใจ</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 2555. พรรณไม้ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ ดอคคิวเมนทารี ดีไซด์ จำกัด. เชียงใหม่. 315 น.</p><p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “ตะแบก.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=2337 (29 ตุลาคม 2559)</p><p>Wikipedia. “<em>Lagerstroemia floribunda.</em>” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Lagerstroemia_floribunda (29 ตุลาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้