Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lagerstroemia loudonii</em> Teijsm. & Binn.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>-</em></p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 10-20 ม. เปลือกขรุขระ หนาประมาณ 1 ซม. เปลือก จะแตกเป็นร่อง ๆ ตามยาว มีสีเทาเข้มถึงเทาดำ เปลือกในสีม่วง</p><p><strong>ใบ</strong> เดี่ยว ออกตรงข้ามหรือเยื้องกันเล็กน้อย ทรงใบรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 12-24 ซม. เนื้อใบหนา มีขนสีเหลืองนุ่ม ๆ ทั้งสองด้าน โคนใบมน ส่วนปลายใบหยักคอดเป็นติ่งแหลมสั้น ๆ ขอบใบเรียบ ก้านใบยาวไม่เกิน 1 ซม. มีขนประปราย</p><p><strong>ดอก </strong>ขนาดใหญ่ สีม่วงสด เมื่อบานเต็มที่กว้าง 6-8 ซม. จะรวมกันเป็นช่อยาว ๆ และค่อนข้างชิดแน่นตามปลายกิ่งและตามง่ามใบตอนใกล้ ๆ ปลายกิ่ง โคนกลีบของกลีบฐานดอกจะติดกันเป็นรูปกรวยหงายหรือรูปถ้วย มีขนสีเหลืองนุ่มปกคลุมทางด้านนอก ส่วนด้านในเกลี้ยง มีสันนูนตามยาวแต่ไม่ชัดเจน ปลายกลีบฐานดอกจะหักพับกลับมาทางก้านผล ทั้งกลีบดอกและกลีบ,ฐานดอกมีจำนวนไม่คงที่ มักจะมี 6 7 หรือ 8 กลีบ</p><p><strong>ผล</strong> เป็นชนิดผลแห้ง รูปไข่ มีขนประปราย ยาว 1.5-2 ซม. ผลแก่จะแตกอ้าออกด้านบน เมล็ดเล็ก มีมาก แต่ละเมล็ดจะมีปีกบาง ๆ และโค้ง ๆ ติดทางด้านบนหนึ่งปีก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ และป่าชายหาด ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</p><p>ภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคตะวันตกของประเทศ ที่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 30-40 ม.</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>พม่าและไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>พม่าและไทย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ และพืชให้ร่มเงา</p><p>เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “อินทรชิต.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&view=showone&id=3077 (6 มกราคม 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/tro-19200789 (6 มกราคม 2560)</p><p>Wikipedia. “<em>Lagerstroemia loudonii</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Lagerstroemia_loudonii (6 มกราคม 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้