Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lagerstroemia</em> <em>speciosa</em> (L.) Pers.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Adambea</em> <em>glabra</em> Lam.</p><p><em>Adambea</em> <em>hirsuta</em> Lam.</p><p><em>Lagerstroemia</em> <em>major</em> Retz.</p><p><em>Lagerstroemia</em> <em>hirsuta</em> (Lam.) Willd.</p><p><em>Lagerstroemia</em> <em>plicifolia</em> Stokes</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น</strong> สูง 5-20 ม. ผลัดใบแต่ผลิใบใหม่เร็ว เปลือกต้นมีสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน เรียบไม่แตกเป็นร่อง</p><p><strong>ใบ </strong>เดี่ยว ออกเป็นคู่หรือเยื้องกันเล็กน้อย รูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 6-10 ซม. ยาว 12-26 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ใบมีสีเขียวเนื้อใบค่อนข้างหนา และเกลี้ยงเป็นมันทั้งสองด้าน</p><p><strong>ดอก </strong>สีชมพูถึงม่วง ออกดอกเป็นช่อยาวถึง 30 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 6 แฉก กลีบดอกมี 6 กลีบ ดอกบานเต็มที่กว้าง 10 ซม. กลีบดอกมีสันนูนตามยาว รูปช้อนปลายแผ่ โคนเป็นก้านเรียว แผ่นกลีบเป็นริ้วคลื่น มีเกสรเพศผู้จำนวนมากกลางดอก ปลายเกสรสีเหลือง</p><p><strong>ผล </strong>รูปไข่ ผิวเกลี้ยง ยาว 2.0-2.5 ซม. เมื่อแก่ผลแตกเป็น 6 แฉก</p><p><strong>เมล็ด </strong>มีขนาดเล็ก มีปีกบางโค้งทางด้านบนหนึ่งปีก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ตามที่ราบลุ่มและริมน้ำในป่าเบญจพรรณชื้น และชายป่าดงดิบ</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ทวีปเอเชีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ต้น </strong>มีรูปทรงและให้ดอกสวยงาม ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ</p><p><strong>ใบ</strong> ใช้ใบอ่อนตากแดด นำมาชงเป็นชาช่วยรักษาโรคเบาหวาน ลดความอ้วน ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ลดระดับน้ำตาลในเลือด รักษาโรคความดันโลหิตสูง รักษาโรคเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ</p><p><strong>ราก</strong> มีรสขม นำมาต้มน้ำดื่ม หรือนำมาตำแล้วพอกบริเวณท้อง ช่วยรักษาแผลในช่องปากและคอ ช่วยสมานท้อง</p><p><strong>เปลือก</strong> ลดระดับน้ำตาลในเลือด แก้ไข้ แก้อาการท้องเสีย</p><p><strong>เมล็ด </strong>ลดระดับน้ำตาลในเลือด แก้อาการนอนไม่หลับ รักษาโรคเบาหวาน ลดระดับน้ำตาลในเลือด</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2541. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 5. พิมพ์ครั้งที่ 1. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์, กรุงเทพมหานคร. 205 น.</p><p>ThaiHerbal.org. 2014. “อินทนิลน้ำ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://thaiherbal.org/1842 (10 ตุลาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “Lagerstroemia speciosa (L.) Pers.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2353907 (14 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้