Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lansium</em> <em>parasiticum</em> (Osbeck) K.C.Sahni & Bennet 'Koh'</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> สูงประมาณ 10-15 ม. </p><p><strong>ใบ</strong> ใบประกอบแบบขนนก ออกสลับ ใบย่อย รูปรี รูปไข่ ใบหยักเป็นคลื่น ใบบาง เป็นมัน </p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อ ดอกสีเหลือง </p><p><strong>ผล</strong> ออกตามลำต้น หรือกิ่งแก่ สีเหลืองอ่อน รูปกลมถึงรูปรี เปลือกบาง มีขนนุ่ม มียางสีขาว เนื้อใส หุ้มเมล็ด</p><p><strong>เมล็ด</strong> 5 เมล็ด</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เติบโตได้ดีในดินที่ค่อนข้างชื้นตลอดปี หรือ เป็นพื้นที่ที่มีฝนตกชุก แต่ควรเป็นที่ราบ และสามารถระบายน้ำได้ดี ไม่มีปัญหาน้ำท่วมขัง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>มีต้นกำเนิดมาจากเอเชียตะวันตกเฉียงใต้</p>
การกระจายพันธุ์
<p>-</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>เปลือกผล</strong> รสฝาด ต้มดื่มแก้ท้องร่วง แก้ปวดท้อง เผาไฟไล่ยุง สามารถแก้อาการท้องร่วงท้องเดินได้ โดยการนำเปลือกมาหั่นแล้วนำไปคั่วชงกับน้ำเดือด กินครั้งละครึ่งถ้วย เมล็ด นำมาฝนกับน้ำฝนให้ข้น ใช้เป็นยาหยอดหู แก้อักเสบ หรือเป็นฝีในหู ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ รักษาเริมและงูสวัดได้</p><p><strong>เมล็ด</strong> รสขม ต้มดื่มแก้ไข้ ขับพยาธิ</p><p><strong>เปลือกต้น</strong> รสฝาด ต้มดื่มแก้โรคกระเพาะ ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับลำไส้ ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ แก้ไข้</p><p><strong>เนื้อลางสาด</strong> ประกอบไปด้วยคาร์โบไฮเดรต เส้นใย โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตามินบี1 วิตามินบี2 และวิตามินซี เปลือกต้น ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับลำไส้ แก้ไข้ </p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สมุนไพรดอทคอม. 2017. “ลางสาด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.samunpri.com/ลางสาด/ (14 มิถุนายน 2560)</p><p>สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). “ลางสาด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10494#top (14 มิถุนายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Lansium parasiticum (Osbeck) K.C.Sahni & Bennet.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2494222 (14 มิถุนายน 2560)</p><p>wikipedia. “<em>Lansium parasiticum</em>.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Lansium_parasiticum (14 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้