Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lasia</em> <em>spinosa</em> (L.) Thwaites</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p> </p><p><em>Dracontium</em> <em>spinosum</em> L.</p><p><em>Lasia</em> <em>aculeata</em> Lour.</p><p><em>Lasia</em> <em>crassifolia</em> Engl.</p><p><em>Lasia</em> <em>crassifolia</em> f. <em>angustisecta</em> Engl.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น </strong>ลำต้นแข็งอยู่ใต้ดินทอดเลื้อย ทอดขนานกับพื้นดิน ตั้งตรงและโค้งลงเล็กน้อย ยอดชูขึ้น มีหนามแหลมตามลำต้น ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 4-5 ซม. ยาวได้ถึง 75 ซม.</p><p><strong>ใบ </strong>ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปสามเหลี่ยมหรือรูปหัวลูกษร ขอบใบเว้าลึกเป็นแฉกถึงเส้นกลางใบ ใบกว้างมากกว่า 25 ซม. ยาว 30-40 ซม. ใต้ท้องใบบริเวณเส้นใบมีหนาม ขอบใบเรียบหรือหยักเว้าลึก 9 พู ใบอ่อนม้วนเป็นแท่งวงกลม ปลายแหลม ก้านใบรูปทรงกระบอก แข็ง ยาว 40-120 ซม. มีหนามตามก้านใบ</p><p><strong>ดอก </strong>ดอกออกเป็นช่อเชิงลดทรงกระบอก เป็นแท่ง ยาวประมาณ 4 ซม. แทงออกจากกาบใบ ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 75 ซม. และมีหนาม มีดอกย่อยอัดแน่นเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ใบประดับยาวสีน้ำตาลแกมเขียวมักบิดเป็นเกลียว ยาวได้ถึง 55 ซม. ดอกสีชมพูและเปลี่ยนเป็นสีชมพูแกมเขียว ดอกเพศผู้อยู่ตอนบนและมีจำนวนมาก ดอกเพศเมียอยู่ตอนล่าง และมีจำนวนน้อยกว่า</p><p><strong>ผล </strong>เรียงชิดกันแน่น เป็นแท่งรูปทรงกระบอก ผลสด หนาและเหนียว ผลอ่อนสีเขียวอ่อนเนื้อนุ่ม ผลแก่สีเหลืองแกมแดง</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ชอบที่ชื้นแฉะและมีน้ำขัง ชอบขึ้นตามริมน้ำ หรือบริเวณดินโคลนที่มีน้ำขัง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เอเชียเขตร้อน</p>
การกระจายพันธุ์
<p>อินเดีย ตอนใต้ของประเทศจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงอินโดนีเชีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>แยกกอ เพาะเมล็ด</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong>ลำต้น</strong> ใช้แก้ไอ ขับเสมหะ ต้มน้ำอาบแก้คันเนื่องจากพิษหัดเหือด และไข้ออกผื่น สุกใส ดำแดง และใช้ถอนพิษ </p><p><strong>ใบ</strong> แก้ปวดท้อง แก้ไอ </p><p><strong>ราก</strong> ต้มน้ำให้เด็กแรกเกิดอาบ แก้เจ็บคอ </p><p><strong>เหง้า</strong><strong> </strong>เป็นยาขับเสมหะ แก้ไอ ต้มน้ำอาบแก้คันเนื่องจากพิษหัด เหือด สุกใส ดำแดง และโรคผิวหนัง </p><p><strong>ยอดอ่อนและใบอ่อน</strong>รับประทานเป็นผัก โดยนำมาลวก หรือต้มกับกะทิ หรือทำผักดอง กินกับน้ำพริก หรือนำไปปรุงเป็นแกง แกงส้ม แกงไตปลา หรือผัด </p>
หมายเหตุ
<p>ใบและก้าน มีสารไฮโดรเจนไซยาไนด์เป็นพิษ ก่อนนำไปรับประทานควรต้มหรือดองก่อนเพื่อกำจัดพิษ</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 464 น.</p><p>ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2554. “ผักหนาม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20option/search_detail.asp?botanic_id=1600 (30 ตุลาคม 25599)</p><p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “ผักหนาม.” [ระบบออนไลน์]. http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=240 (30 ตุลาคม 25599)</p><p>The Plant List. 2013. “Lasia spinosa (L.) Thwaites.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-108423 (15 มิถุนายน 2560)</p><p>The Royal Botanic Gardens,Kew science. “<em>Lasia spinosa</em> (L.) Thwaites.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:87418-1 (30 ตุลาคม 25599)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้