Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Lepisanthes</em> <em>rubiginosa</em> (Roxb.) Leenh.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Sapindus rubiginosus</em> Roxb.</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> สูงถึง 15 ม. เปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งก้านมีขนละเอียด</p><p><strong>ใบ</strong> ใบประกอบแบบนนกปลายคู่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อย มี 3-6 คู่ รูปไข่ถึงรูปไข่กลับ กว้าง 2-11 ซม. ยาว 3-30 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบมีขนนุ่มปกคลุมทั้งสองด้าน แผ่นใบบางแต่ค่อนข้างเหนียว และย่นเป็นลอน ใบอ่อนสีน้ำตาลอมเขียว</p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตั้ง ที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ ยาวถึง 50 ซม. กลีบดอก 4-5 กลีบ สีขาวถึงสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ดอกแยกเพศ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปครึ่งวงกลม เกสรเพศผู้ 8 อัน</p><p><strong>ผล</strong> สด รูปรีเว้าเป็นพู ผิวเกลี้ยง กว้าง 0.5-1.0 ซม. ยาว 1.5-2.0 ซม. ผลอ่อนสีเขียว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแดงจนแก่จัดสีม่วงดำ มี 2 พู ผิวเกลี้ยง เปลือกและเนื้อบาง</p><p><strong>เมล็ด</strong> สีน้ำตาลดำ เป็นมัน มี 1 เมล็ด รูปทรงรีแกมขอบขนาน</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>พบตามป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง พื้นที่สูง 300-1,200 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออก - อินเดียตอนเหนือ จีนตะวันออก พม่า ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไปออสเตรเลีย</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p><strong> ราก </strong>รสเมาเบื่อสุขุม รักษาอาการไข้ ตำพอกศีรษะแก้อาการไข้ปวดศีรษะ ตำพอกรักษาผิวหนังผื่นคัน แก้พิษฝีภายใน ขับพยาธิ วัณโรค แก้พิษร้อน แก้กระษัยเส้นเอ็น ต้มน้ำดื่ม แก้เบื่อเมา รากผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่ม แก้ซาง (โรคของเด็กเล็ก มีอาการเบื่ออาหาร ซึม มีเม็ดขึ้นในปากและคอ ลิ้นเป็นฝ้า)</p><p><strong>เปลือกต้น </strong>บำรุงธาตุ แก้ธาตุพิการ แก้บิด สมานแผล </p><p><strong>ใบ</strong> แก้ไข้ ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้าดื่มแก้ซาง<strong> </strong>ใบอ่อน รับประทานเป็นผักได้ ชาวบ้านใช้ใบรองพื้นและคลุมข้าวที่จะใช้ทำขนมจีนเพื่อกันบูด </p><p><strong>ผล</strong> บำรุงกำลัง แก้ท้องร่วง </p><p><strong>ผลสุก</strong> มีรสจืดฝาด ถึงหวาน รับประทานเป็นผลไม้ แก้ท้องร่วง </p><p><strong>เมล็ด</strong> รสฝาด ต้มดื่มแก้ไข้ซาง แก้ไอกรน แก้ไอหอบในเด็ก แก้ไอเรื้อรัง บำรุงเส้นเอ็น</p>
หมายเหตุ
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553. “มะหวด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=266 (15 มิถุนายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “Lepisanthes rubiginosa (Roxb.) Leenh.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/tro-50009183 (15 มิถุนายน 2560)</p><p>Top Tropicals. 2017. “Lepisanthes rubiginosa, Sapindus rubiginosa, Erioglossum rubiginosum .” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://toptropicals.com/catalog/uid/Lepisanthes_rubiginosa.htm (15 มิถุนายน 2560)</p><p>Useful Tropical Plants. 2017. “Lepisanthes rubiginosa.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://tropical.theferns.info/viewtropical.php?id=Lepisanthes+rubiginosa (15 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้