Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Licuala</em> <em>peltata</em> Roxb. ex Buch.-Ham.</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>-</em></p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> ปาล์ม สูง 2-5 ม. มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 ซม. ความสูงที่สวยงามอยู่ในช่วง 0.5 – 1.5 ม.</p><p><strong>ใบ</strong> ใบเดี่ยว มีขนาดใหญ่ สีเขียวเข้ม รูปพัดหรือเกือบกลม แผ่นใบและขอบจักเป็นจีบ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0-1.5 ม. ก้านใบยาว 1.0-1.2 ม. แข็งแรง มีหนามโค้ง ปลายแหลมสีน้ำตาล ส่วนโคนใบแผ่เป็นกาบหุ้มรอบลำต้น ใบมีประมาณ 3-7 ใบ</p><p><strong>ดอก</strong> ดอกออกเป็นแกนช่อจากยอดหรือซอกใบ ขนาดยาวจากโคน 80-150 ซม. ดอกย่อยมีสีเหลืองหรือสีน้ำตาลอ่อน ไม่มีก้าน มีขนาดผ่าศูนย์กลาง 6-8 มม. มีขนนุ่ม ส่วนโคนกลีบดอกเชื่อมเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 3 แฉก เกสรผู้ 6 อัน ขนาดยาวเท่ากัน</p><p><strong>ผล </strong>ผลกลมรี มีขนาด 1-2 ซม. ปลายแหลม อยู่บนฐานรองดอกที่มีลักษณะเป็นรูปถ้วยหนาคล้าย</p><p>แผ่นหนัง มีสีน้ำตาล</p><p><strong>เมล็ด</strong> มี 1 เมล็ด</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>เป็นพันธุ์ไม้หายากชนิดหนึ่ง พบในป่าดงดิบชื้น</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ประเทศไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>เอเชียตะวันออกเฉียงใต้</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ใช้เวลา 3-4 เดือนในการงอก</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับ</p>
หมายเหตุ
<p>จัดเป็นปาล์มที่หายากชนิดหนึ่ง เหตุที่ได้ชื่อว่า "เจ้าเมืองตรัง" เนื่องจากถูกค้นพบโดย พระยารัษฎานุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ขณะดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองตรัง ขณะที่บุกเบิกตัดถนนในป่าเขตแดนจังหวัดตรัง เห็นว่ามีความสวยงาม จึงนำมาปลูกไว้ในกระถางเลี้ยง</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>องค์การสวนพฤกษศาสตร์. 2541. สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 3. โอ.เอส.พริ้นเฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร. 153 น.</p><p>สำนักพิมพ์บ้านและสวน. 2558. “ปาล์มเจ้าเมืองตรัง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://book.baanlaesuan.com/plant-guide/sumawongpalm/ (14 ธันวาคม 2559)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Licuala</em> <em>peltata</em> Roxb. ex Buch.-Ham.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-112231 (14 ธันวาคม 2559)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้