Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Licuala</em> <em>poonsakii</em> Hodel</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p>-</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ลำต้น</strong> สูง 4 ม. เส้นผ่าศูนย์ลกาง 5-8 ซม. </p><p><strong>ใบ</strong> ประกอบแบบนิ้วมือ ก้านใบยาว 1 ม. มีหนามโ้ง ยาว 3 มม. ใบกลม ขนาด 70-90 ซม. แยกเป็นแฉก 10 แฉก ปลายตัด หนักแหลม </p><p><strong>ดอก</strong> ออกเป็นช่อ ระหว่างกาบใบ มีช่อดอดยาว 1.5 ม. มีช่อดอกย่อย เป็นช่อเดี่ยว คล้ายช่อเชิงลด</p><p><strong>ผล</strong> รูปรี ขนาด 9-12 ซม. สีแดงเข้ม</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ป่าชื้น สูง 80-200 ม. จากระดับทะเลปานกลาง ตะวันออกเฉียงใต้ของไทย พบทั่วไปในป่าเขาใหญ่</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>กระจายพันธุ์ในภาคตะวันออก</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>เพาะเมล็ด ใช้เวลา 3-4 เดือนในการงอก</p><p>แยกหน่อ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>ปลูกลงแปลงกลางแจ้ง</p>
หมายเหตุ
<p>เป็นพืชถิ่นเดียวในประเทศไทย พบครั้งแรกโดยนายพูนศักดิ์ วัชรากร</p>
แหล่งอ้างอิง
<p>ปิยะ เฉลิมกลิ่น. 2550. คู่มือ ปาล์มประดับ ฉบับปรับปรุงและเพิ่มเติม. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์บ้านและสวน;อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 304 น.</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Licuala</em> <em>poonsakii</em> Hodel.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-112239 (17 กันยายน 2560)</p><p>wikipedia. “กะพ้อเขาจันทร์.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/กะพ้อเขาจันทร์ (17 กันยายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>-</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้