รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03590


ชื่อวิทยาศาสตร์

Mansonia gagei J.R.Drumm.

สกุล

Mansonia J.R.Drumm.

สปีชีส์

gagei

Variety

-

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

Burretiodendron umbellatum Kosterm.

ชื่อไทย
จันทน์ชะมด
ชื่อท้องถิ่น
จันทน์(ตาก,ประจวบคีรีขันธ์)/ จันทน์ขาว(กลาง,ประจวบคีรีขันธ์)/ จันทน์พม่า(กลาง)/ จันทน์หอม(กลาง,ระยอง)
ชื่อสามัญ
Kalamet
ชื่อวงศ์
MALVACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม.

ใบ ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 1.5-3 ซม.ยาว 7-10 ซม.

ดอก ดอกช่อ แยกแขนง ออกที่ซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองอ่อน

ผล ผลเป็นผลสด รูปไข่หรือทรงกลม

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

พบขึ้นบางช่วงในป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ

ถิ่นกำเนิด

 Myanmar

การกระจายพันธุ์

พม่า ไทย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยเมล็ด

ระยะเวลาการติดดอก
สิงหาคม-ตุลาคม
ระยะเวลาการติดผล
ธันวาคม-มกราคม
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,พืชให้ร่มเงา

-อาหาร,ยอดอ่อน นำมารับประทานเป็นผักสดหรือลวก ต้ม จิ้มกับน้ำพริก แจ่วบอง นำมาปรุงอาหาร เช่น ผัดเผ็ด ยำ แกงส้ม

-สามารถปลูกไม้ชนิดนี้เพื่อให้ร่มเงา

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “จันทน์ชะมด.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&id=2707&view=showone&Itemid=59 (13 มกราคม 2560)

The Plant List. 2013. “Mansonia gagei J.R.Drumm.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-2506435 (13 มกราคม 2560)

The Royal Botanic Gardens,Kew science. “Mansonia gagei J.R.Drumm.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:824303-1 (13 มกราคม 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้