รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03703


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (AA) 'Khai Thong Ngoei'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Khai Thong Ngoei

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยไข่ทองเงย
ชื่อท้องถิ่น
ทองเงย หอมทองเงย
ชื่อสามัญ
Kluai Khai Thong Ngoei
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น: ลำต้นสูง 2. 5 - 3.0 เมตร กาบต้นนอกมี ประดำชัดเจน กาบต้นสีเขียวอ่อน

ใบ: ก้านใบสีเขียวอมเหลือง ร่องใบเปิด ใบสีเขียวเข้ม

ดอก: สีแดงอมม่วง กาบปลีเปิดม้วนขึ้น

ผล: ก้านเครือมีขน เครือหนึ่งมีประมาณ 10 หวี ผลสีเขียวเข้ม เมื่อสุกสีเหลืองทอง หวีเรียงเป็นระเบียบ เนื้อในสีขาว รสหวานเย็น ผลลักษณะคล้ายกล้วยไข่ แต่ใหญ่กว่า ปลายผลเรียวแหลมชี้ขึ้น ชาวบ้านเรียกตามลักษณะผลคือ ผลคล้ายกล้วยไข่ เลยตั้งชื่อว่า ไข่ทองเงย

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

อ.ท่าแซะ จังหวัดชุมพร

การกระจายพันธุ์

ประเทศไทย พบมากที่ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช

การปลูกและการขยายพันธุ์

แยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,พืชวัสดุ

ผลสุกนิยมใช้รับประทานเป็นผลไม้

ใบตอง ใช้สำหรับห่อขนม ห่อหมกทำอาหาร

กาบกล้วยใช้ทำเป็นเชือกรัดของ

ต้นกล้วยใช้ทำเป็นเยื่อกระดาษ

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

baanjomyut. “กล้วยไข่ทองเงย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-5/agricultural_knowledge/perennial_crops/25_50.html (14 มิถุนายน 2560)

puechkaset. “กล้วยไข่ ประโยชน์ และการปลูกกล้วยไข่.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://puechkaset.com/กล้วยไข่/ (14 มิถุนายน 2560)

thaigoodview. 2006. “กล้วยไข่ทองเงย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/poonsak/agri/tree/sec01p05_23.html (14 มิถุนายน 2560)

มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ. 2552. 108 พันธุ์กล้วยไทย. บริษัทโรงพิมพ์กรุงเทพ (1984) จำกัด, กรุงเทพฯ. 268 น.

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้