รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03710


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (AA) 'Nuea Thong'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Nuea Thong

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยเนื้อทอง
ชื่อท้องถิ่น
กล้วยสาวกระทืบหอ (ทั่วไป)
ชื่อสามัญ
Kluai Nuea Thong
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

กล้วยสาวกระถืบหอ หรือมีอีกชื่อหนึ่งคือ กล้วยเนื้อทอง อร่อยที่สุดกว่ากล้วยทุกๆ สายพันธุ์ เป็นกล้วยแปลก รสชาติหอมหวาน และเป็นกล้วยโบราณที่หายาก ที่หาซื้อทานไม่ได้ส่วนใหญ่ชาวสวนนิยมปลูกเอาไว้ทานเอง

ต้น: ลําต้นผอมสูง

ปลีหรือดอก: ปลียาวคล้ายกล้วยเนื้อทอง แต่กาบปลีซ้อนทับไม่เห็นปลายเหลี่ยม

ผล: ติดผลเครือละ 14-16 หวี ผลขนาดเล็กคล้ายกล้วยไข่ แต่ยาวกว่า

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

พบเฉพาะที่ จ. ตราด โดยคุณเริงศักดิ์ กลิ่นพยอม แต่ที่ จ. กําแพงเพชร เรียกกล้วยเนื้อทอง เพราะสุกเนื้อผลมีสีส้มแดง

การกระจายพันธุ์

-

การปลูกและการขยายพันธุ์

แยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,พืชประดับ

เนื้อผลแห้งแน่นละเอียดสีส้มเข้ม รสชาติดีคล้ายกล้วยไข่ ไม่หอมมาก กินสดที่นำไปทำเป็นกล้วยฉาบ

หมายเหตุ

-

 

แหล่งอ้างอิง

มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ. 2552. 108 พันธุ์กล้วยไทย. บริษัทโรงพิมพ์กรุงเทพ (1984) จำกัด, กรุงเทพฯ. 268 น.

สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน. 2017. “กล้วยสาวกระทืบหอ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.life.ac.th/librapage/Digital%20Library/Library%20of%20LIFE/html/banana/sawkrateenhoa.pdf (14 มิถุนายน 2560)

Thai Central Garden. 2017. “หน่อกล้วยสาวกระทืบหอ.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://everysale.thaicentralgarden.com/index.php?route=product/product&product_id=92 (14 มิถุนายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้