รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03733


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (AAA) 'Hom Thong Pa'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Hom Thong Pa

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยหอมทองป่า
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Kluai Hom Thong Pa
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลำต้น กล้วยหอมทองป่า ลักษณะคล้ายกล้วยหอมทอง ลำต้นเทียมสูง 2.5-3.5 ม.เส้นผ่าศูนย์กกลางลำต้นเทียมมากกว่า 15 ซม. สีของกาบลำต้นเทียม มีประดำเล็กน้อย ด้านในสีเขียวอ่อน และมีเส้นสีชมพู 

ใบ ก้านใบมีร่องค่อนข้างกว้างและมีปีก เส้นกลางใบสีเขียว 

ดอก ก้านเกศรเพศเมียจะค้างที่ปลายผล

ผล กล้วยหอมทองป่า ลักษณะคล้ายกล้วยหอมทอง แต่ผลเล็ก ก้านเกศรเพศเมียจะค้างที่ปลายผล มีเนื้อแน่นกว่ากล้วยหอมเล็กน้อย รสชาติไม่เปรี้ยว แต่มีกลิ่นฉุนเล็กน้อย

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การกระจายพันธุ์

เอเชีย แอฟริกา 

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์ด้วยหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร,พืชประดับ

ผลสุกกล้วยหอมทองป่าสามารถรับประทานเป็นผลไม้ได้ แต่เม็ดจะมีขนาดใหญ่ จึงไม่ค่อยนิยมบริโภคเท่ากล้วยหอมทอง และสามารถปลูกเป็นพืชประดับภูมิทัศน์

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

รวบรวมสายพันธุ์กล้วย. 2558. “กล้วยหอมทอง” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://bananacenterkp.weebly.com/35853621365736233618362736293617360736293591.html (24 เมษายน 2560)

NanaGarden.com. 2013. “กล้วยหอมทองป่า'” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา:  http://www.nanagarden.com/product/199304(24 เมษายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้