รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03749


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (AAA) 'Sai Namphueng'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Sai Namphueng

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยสายน้ำผึ้ง
ชื่อท้องถิ่น
หอมสายน้ำผึ้ง ตะกุ่ยเปี๊ยฮายีซา (กะเหรี่ยง)
ชื่อสามัญ
Kluai Sai Namphueng
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น: กล้วยมีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า หัว หรือ เหง้า ต้นที่เห็นอยู่เหนือดิน ความจริงแล้วมิใช่ลำต้น เราเรียกว่า ลำต้นเทียม เกิดจากการอัดกันแน่นของกาบใบ

ใบ: ใบกล้วยมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่ มีความกว้างประมาณ 70-90 ซม. ความยาว 1.7-2.9 ม. ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคนใบมน และแผ่นใบมีสีเขียว

ดอก: ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ ในช่อดอกยังมีกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆ แต่ละช่อจะมีกลีบประดับ หรือที่เราเรียกกันว่า กาบปลี สีม่วงแดงกั้นไว้ ลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน และกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย

ผล: ลูกเหมือนกล้วยไข่แต่ใหญ่กว่ามากเนื้อหอมเป็นสีออกส้ม ไม่มีขายตามท้องตลาด ถือว่าอร่อยที่สุดในตระกูลกล้วยหอม

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การกระจายพันธุ์

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในประเทศไทยพบที่จ. ราชบุรี 

การปลูกและการขยายพันธุ์

แยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

รับประทานผลสด

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

เกษตรพอเพียง. 2558. “ทดลองปลูกกล้วยพันธุ์ สายน้ำผึ้ง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=116813.0 (15 มิถุนายน 2560)

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. “กล้วย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=6&page=t30-6-infodetail02.html (15 มิถุนายน 2560)

มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ. 2552. 108 พันธุ์กล้วยไทย. บริษัทโรงพิมพ์กรุงเทพ (1984) จำกัด, กรุงเทพฯ. 268 น.

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้