รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03779


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (AAB) 'Thong Khak'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Thong Khak

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยทองแขก
ชื่อท้องถิ่น
กล้วยทองร่วง, กล้วยหวีเวียน, หอมทองแขก
ชื่อสามัญ
Kluai Thong Khak
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ลำต้นสั้น มีเหง้าอยู่ใต้ดิน มีลำต้นเทียมสูง 2.5 - 4.0 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 16-20 ซม.

ใบ ใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ก้านใบยาว

ดอก ช่อดอกตั้งห้อยลง มีใบประดับขนาดใหญ่หุ้ม

ผล ยาว เครือหนึ่งมี 9-15 หวี มีรสเปรี้ยว เนื้อเละ

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

ประเทศไทย

การกระจายพันธุ์

ประเทศไทย

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

ไม่ค่อยนิยมรับประทาน มักจะนำไปแปรรูปเป็นอาหารอย่างอื่นแทน

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

ฐานข้อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม. 2556. “กล้วยทองร่วง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.culture.nstru.ac.th/~culturedb/culture.php?cultureCode=1237&cultureTitleT=%A1%C5%E9%C7%C2%B7%CD%A7%C3%E8%C7%A7 (8 มิถุนายน 2560)

มูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ. 2552. 108 พันธุ์กล้วยไทย. บริษัทโรงพิมพ์กรุงเทพ (1984) จำกัด, กรุงเทพฯ. 268 น.

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้