รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03786


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (ABB) 'Hak Muk Thong'

สกุล

Musa

สปีชีส์

-

Variety

Hak Muk Thong

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยหักมุกทอง
ชื่อท้องถิ่น
กล้วยส้ม
ชื่อสามัญ
Kluai Hak Muk Thong
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ลำต้นเทียมมีความสูง 3.5-4.0 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 15 ซม. กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวอมเหลือง ไม่มีปื้นดำ ไม่มีไข กาบด้านในสีเหลืองซีดสม่ำเสมอ

ใบ ก้านใบค่อนข้างปิด ก้านใบสีเขียว มีครีบเล็กน้อย

ดอก ก้านช่อดอกสีแดงไม่มีขน ใบประดับรูปไข่ ค่อนข้างป้อม ด้านนอกสีม่วงอมเทา มีไข ด้านในสีแดงอมส้มสม่ำเสมอ ปลายใบค่อนข้างมน สีเหลือง ม้วน ใบเรียงซ้อนกันลึก ก้านดอกค่อนข้างยาว

ผล ขนาดปานกลางทรงกระบอก มีเหลี่ยมและจุกผลชัดเจน ผลเรียงเป็นระเบียบ หวีต่อเครือประมาณ 5-8 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 12-15 ผล ผลดิบมีสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกมีสีเหลืองทอง ผิวแตกลายงา เนื้อผลสีเหลืองอมส้ม รสชาติหวานอเปรี้ยวเล็กน้อย เนื้อไม่แน่น ไม่มีกลิ่นหอม พบเมล็ดบ้างแต่น้อยมาก

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การกระจายพันธุ์

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

รับประทานผลสด ย่าง นำมาทำกล้วยทอดกรอบ

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). 2556. “Musa Xparadisiaca ‘Kluai Hak Muk Thong’ กล้วยส้ม.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=75993 (8 มิถุนายน 2560)

ศูนย์รวบรวมสายพันธุ์กล้วยเฉลิมพระเกียรติจังหวัดกำแพงเพชร. 2558. “กล้วยหักมุกทอง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://bananacenterkp.weebly.com/35853621365736233618362736333585361736403585360736293591.html (8 มิถุนายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้