รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03807


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (ABB) 'Namwa Sai Daeng'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Namwa Sai Daeng

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยน้ำว้าไส้แดง
ชื่อท้องถิ่น
กล้วยน้ำว้าแดง, กล้วยในออน, กล้วยน้ำว้าทองแดงไพสาลี
ชื่อสามัญ
Kluai Namwa Sai Daeng
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ลำต้นเทียมสูง 3.0-3.5 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 15 ซม. โคนของกาบลำต้นเทียมมีสีชมพู มีจุดปื้นสีดำเล็กน้อย มีนวล กาบด้านในสีขาว

ใบ โคนก้านใบมีปีกเล็กน้อย ขอบก้านใบปิด สีน้ำตาลเล็กน้อย เส้นกลางใบสีเขียวอ่อน

ดอก ก้านช่อดอกไม่มีขน ใบประดับรูปไข่ค่อนข้างงป้อม ด้านบนสีแดงอมเทา มีนวล ด้านล่างสีแดง ปลายใบแหลม ม้วนขึ้น ก้านดอกยาว

ผล ขนาดใหญ่ ใกล้เคียงกับกล้วยน้ำว้าชนิดอื่น ผลป้อม ทรงกระบอก ปลายค่อนข้างแหลม เปลือกสีเหลืองนวลเมื่อสุก เนื้อสีขาวชมพู มีใส้สีเหลือง บางครั้งมีเมล็ดแต่ไม่มาก

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

ชอบความชื้นสูง  กลางแจ้งในที่โล่ง  ดินทรายปนเหนียว

ถิ่นกำเนิด

ไทย

การกระจายพันธุ์

ไม้การค้า

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

เนื้อของกล้วยในกลุ่มนี้จะมีแป้งมาก โดยเฉพาะผลดิบ ผลที่สุกบางชนิดรับประทานสดได้ แต่บางชนิดอาจจะฝาด จึงนิยมนำมาทำให้สุกด้วยความร้อนก่อน จะทำให้รสอร่อยขึ้น

หมายเหตุ

-

แหล่งอ้างอิง

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. “การจำแนกกลุ่มของกล้วย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=6&page=t30-6-infodetail04.html (8 มิถุนายน 2560)

สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). 2556. “Musa X paradisiaca ‘Kluai Namwa Dang’.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=75980 (8 มิถุนายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้