รายละเอียดพรรณไม้ : RPRP-03811


ชื่อวิทยาศาสตร์

Musa (ABB) 'Nio Mue Nang'

สกุล

Musa L.

สปีชีส์

-

Variety

Nio Mue Nang

Sub Variety

-

Form
-
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม

-

ชื่อไทย
กล้วยนิ้วมือนาง/กล้วยหวาน
ชื่อท้องถิ่น
-
ชื่อสามัญ
Kluai Nio Mue Nang
ชื่อวงศ์
MUSACEAE
ลักษณะวิสัย
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ลำต้นสูง 2.5-3.5 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 16-18 ซม. กาบด้านนอกเขียว ด้านในสีเหลืองอมเขียว

ใบ ก้านใบสีเขียว ร่องใบเปิด

ดอก ปลีสีแดงรูปไข่เรียวแหลม ปลายแหลม

ผล ก้านเครือมีขน เครือหนึ่งมีประมาณ 7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลยาว 12-16 ซม. กว้าง 3-4 ซม. สุกมีสีเหลือง รสหวานเล็กน้อย

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
สภาพนิเวศวิทยา

ชอบความชื้นสูง  กลางแจ้งในที่โล่ง  ดินทรายปนเหนียว

ถิ่นกำเนิด

ไทย

การกระจายพันธุ์

ไม้การค้า

การปลูกและการขยายพันธุ์

ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ

ระยะเวลาการติดดอก
-
ระยะเวลาการติดผล
-
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร

เนื้อของกล้วยในกลุ่มนี้จะมีแป้งมาก โดยเฉพาะผลดิบ ผลที่สุกบางชนิดรับประทานสดได้ แต่บางชนิดอาจจะฝาด จึงนิยมนำมาทำให้สุกด้วยความร้อนก่อน จะทำให้รสอร่อยขึ้น

หมายเหตุ

กลุ่ม ABB เป็นกล้วยลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานีเช่นกัน แต่มีเชื้อของกล้วยป่าอยู่น้อยกว่าเชื้อของกล้วยตานี กล่าวคือ มีเชื้อของกล้วยป่าอยู่เพียง 1 ใน 3 และมีเชื้อของกล้วยตานี 2 ใน 3

แหล่งอ้างอิง

โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. “การจำแนกกลุ่มของกล้วย.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=6&page=t30-6-infodetail04.html (8 มิถุนายน 2560)

บ้านจอมยุทธ. 2543. “กล้วยนิ้วมือนาง.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.baanjomyut.com/library_3/extension-5/agricultural_knowledge/perennial_crops/25_28.html (9 มิถุนายน 2560)

แหล่งอ้างอิงการจำแนก

-

แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์

-

สถานะของข้อมูลพรรณไม้
แบบร่าง
รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้ แก้ไขข้อมูล จัดการรูปภาพ พิมพ์ QR Code ของพืชนี้ ลบข้อมูลพรรณไม้นี้