Application name
รายการพรรณไม้
รายงาน
การตั้งค่า
แก้ไขข้อมูลพรรณไม้
รหัส
ชื่อวิทยาศาสตร์
<p><em>Musa acuminata</em> Colla</p>
สกุล
สปีชีส์
Variety
Sub Variety
Form
ชื่อพ้อง / ชื่อดั้งเดิม
<p><em>Musa</em> <em>acuminata</em> subsp. <em>acuminata</em></p><p><em>Musa</em> <em>corniculata</em> Kurz</p><p><em>Musa</em> <em>simiarum</em> Kurz</p>
ชื่อไทย
ชื่อท้องถิ่น
ชื่อสามัญ
ชื่อวงศ์
ลักษณะวิสัย
ยังไม่ได้ระบุ
ไม้ล้มลุก
ไม้พุ่ม
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็ก
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง
ไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่
ไม้เลื้อย
ไม้รอเลื้อย
ไม้อิงอาศัย
ไม้หัว
พืชอวบน้ำ
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
<p><strong>ต้น </strong>ลำต้นเทียมสูงประมาณ 4.8 ม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12 ซม. กาบลำต้นด้านนอกสีเขียวประสีดำ</p><p><strong>ใบ </strong>รูปขอบขนาน กว้าง 50-70 ซม. ยาว 1.9-2.3 ม. สีเขียว ก้านใบยาวประมาณ 80 ซม. สีเขียวอมเหลือง ร่องใบเปิด ก้านใบเรียวเล็ก</p><p><strong>ดอก </strong>มีใบประดับสีเหลืองอ่อนหรือสีม่วง รูปไข่ ปลายแหลม</p><p><strong>ผล</strong> ช่อผลมี 3-7 หวี หวีหนึ่งมี 10-16 ผล ผลมีขนาดเล็ก รูปทรงกระบอกหรือทรงรี ยาว 7-10 ซม. กว้าง 2-5 ซม. ไม่มีเหลี่ยม ปลายมน เปลือกบางสีเขียวอมเหลือง เนื้อสีเหลือง เมล็ดจำนวนมาก</p>
สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง
ร่มรำไร
ร่ม
สภาพนิเวศวิทยา
<p>ชอบขึ้นเป็นกลุ่มในดินที่อุ้มน้ำ บริเวณริมลำธารที่มีความชื้นสูง พบขึ้นทั่วไปในป่าดิบ ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ที่ความสูง 1,200 ม. จากระดับทะเลปานกลาง</p>
ถิ่นกำเนิด
<p>ไทย</p>
การกระจายพันธุ์
<p>ไม้การค้า</p>
การปลูกและการขยายพันธุ์
<p>ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด และแยกหน่อ</p>
ระยะเวลาการติดดอก
ระยะเวลาการติดผล
ประเภทการใช้ประโยชน์
อาหาร
สมุนไพร
พืชประดับ
พืชวัสดุ
พืชใช้เนื้อไม้
พืชให้ร่มเงา
พืชเศรษฐกิจ
<p>กล้วยป่าสามารถใช้ประโยชน์ได้ตลอดทั้งปี โดยนำมาปรุงอาหารได้สารพัด เช่น หยวกกล้วยนำมาแกงใส่ไก่ กระดูกหมู หรือปลาแห้ง ยำใส่ปลากระป๋อง กินกับน้ำพริกได้ทั้งดิบและสุก หรือนำมาตำกับมดแดง ส่วนหัวปลีนำมาชุบแป้งทอด ห่อนึ่งใส่เนื้อหมู หรือยำกับเนื้อไก่ นอกจากนี้กาบต้นแห้งนำไปขายเพื่อทำกระดาษสา</p><p><strong>สรรพคุณทางสมุนไพร</strong><br /><strong>ยาง</strong> สมานแผลห้ามเลือด <br /><strong>ผลดิบ</strong> แก้ท้องเสีย ผลสุก เป็นยาระบายสำหรับผู้ที่เป็น โรคริดสีดวงทวาร <br /><strong>หัวปลี</strong> แก้โรคเกี่ยวกับลำไส้ แก้โรคโลหิตจาง ลดน้ำตาลในเส้นเลือด</p>
หมายเหตุ
<p>กล้วยป่าเป็นดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของป่าต้นน้ำ สามารถกักเก็บน้ำ แล้วระบายสู่ลำธารในช่วงฤดูแล้งได้ดี </p>
แหล่งอ้างอิง
<p>สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้ กรมป่าไม้. “กล้วยป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://biodiversity.forest.go.th/index.php?option=com_dofplant&id=750&view=showone&Itemid=59 (12 มิถุนายน 2560)</p><p>องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน | สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). “กล้วยป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://hkm.hrdi.or.th/knowledge/detail/196 (12 มิถุนายน 2560)</p><p>Flora of China. “Musa acuminata Colla.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://efloras.org/florataxon.aspx?flora_id=2&taxon_id=200028236 (12 มิถุนายน 2560)</p><p>The Plant List. 2013. “<em>Musa acuminata</em> Colla.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-254739 (12 มิถุนายน 2560)</p>
แหล่งอ้างอิงการจำแนก
<p>-</p>
แหล่งอ้างอิงการใช้ประโยชน์
<p>มหัศจรรย์แห่งสมุนไพรไทย. 2555. “กล้วยป่า.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://thaiherb-tip108.blogspot.com/2014/12/blog-post_85.html (12 มิถุนายน 2560)</p>
สถานะของข้อมูล
แบบร่าง
กลับหน้ารายการพรรณไม้